ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สำนักวิชาจีนวิทยา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chiang999 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
บรรทัด 2: บรรทัด 2:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
สำนักวิชาจีนวิทยาจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 ตามแผนพัฒนามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงระยะที่ 3 (พ.ศ. 2555- 2559) นับเป็นสำนักวิชาที่ 14 ของมหาวิทยาลัย ซึ่งได้พัฒนาจากการเป็นสาขาวิชาภาษาจีน ภายใต้สำนักวิชาศิลปศาสตร์ สำนักวิชาจีนวิทยากำหนดวัตถุประสงค์หลักในการดำเนินงานดังนี้ เพื่อสร้างความเป็นเลิศด้านการเรียนการสอน การผลิตงานวิชาการ การสร้างสรรค์งานวิจัย และการให้บริการวิชาการในเรื่องต่างๆ อันเกี่ยวข้องกับประเทศจีน เพื่อผลิตบัณฑิตให้รอบรู้เรื่องจีน ไม่ว่าจะเป็นด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ตลอดจนมีความเข้าใจในแนวคิดวิถีจีนเป็นอย่างดี นอกเหนือไปจากความรู้ ความสามารถ และทักษะด้านภาษาจีน เพื่อสร้างพื้นฐานให้แก่นักศึกษาต่างสาขาของมหาวิทยาลัยในด้านความรู้เกี่ยวกับจีน และความเข้าใจในแนวคิดวิถีจีน นอกเหนือไปจากพื้นฐานทักษะภาษาจีน เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลในด้านต่างๆ เกี่ยวกับจีน และเป็นศูนย์กลางการติดต่อระหว่างชาวไทยกับชาวจีน และเพื่อแสวงหาความร่วมมือกับองค์กรภาครัฐและภาคเอกชนทั้งในประเทศและต่างประเทศในการพัฒนาภารกิจ คือ การเรียนการสอน งานวิชาการ งานวิจัย การให้บริการวิชาการ และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับจีน<ref>http://sinology.mfu.ac.th/history.php</ref>
สำนักวิชาจีนวิทยาจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 ตามแผนพัฒนามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงระยะที่ 3 (พ.ศ. 2555- 2559) นับเป็นสำนักวิชาที่ 14 ของมหาวิทยาลัย ซึ่งได้พัฒนาจากการเป็นสาขาวิชาภาษาจีน ภายใต้สำนักวิชาศิลปศาสตร์ สำนักวิชาจีนวิทยากำหนดวัตถุประสงค์หลักในการดำเนินงานดังนี้ เพื่อสร้างความเป็นเลิศด้านการเรียนการสอน การผลิตงานวิชาการ การสร้างสรรค์งานวิจัย และการให้บริการวิชาการในเรื่องต่างๆ อันเกี่ยวข้องกับประเทศจีน เพื่อผลิตบัณฑิตให้รอบรู้เรื่องจีน ไม่ว่าจะเป็นด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ตลอดจนมีความเข้าใจในแนวคิดวิถีจีนเป็นอย่างดี นอกเหนือไปจากความรู้ ความสามารถ และทักษะด้านภาษาจีน เพื่อสร้างพื้นฐานให้แก่นักศึกษาต่างสาขาของมหาวิทยาลัยในด้านความรู้เกี่ยวกับจีน และความเข้าใจในแนวคิดวิถีจีน นอกเหนือไปจากพื้นฐานทักษะภาษาจีน เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลในด้านต่างๆ เกี่ยวกับจีน และเป็นศูนย์กลางการติดต่อระหว่างชาวไทยกับชาวจีน และเพื่อแสวงหาความร่วมมือกับองค์กรภาครัฐและภาคเอกชนทั้งในประเทศและต่างประเทศในการพัฒนาภารกิจ คือ การเรียนการสอน งานวิชาการ งานวิจัย การให้บริการวิชาการ และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับจีน<ref>{{Cite web |url=http://sinology.mfu.ac.th/history.php |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2021-01-14 |archive-date=2021-01-15 |archive-url=https://web.archive.org/web/20210115102841/http://sinology.mfu.ac.th/history.php |url-status=dead }}</ref>


== หลักสูตร ==
== หลักสูตร ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:50, 2 ตุลาคม 2564

สำนักวิชาจีนวิทยา
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
School of Sinology,
Mae Fah Luang University
ชื่อย่อSN / MFU.
สถาปนา16 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
(9 ปี 284 วัน)
คณบดีดร.ธีรภาพ ปรีดีพจน์ (รักษาการ)
ที่อยู่
เพลงจีนวิทยา
สี  สีแดง
เว็บไซต์สำนักวิชาจีนวิทยา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

สำนักวิชาจีนวิทยา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง (อังกฤษ: School of Sinology, Mae Fah Luang University) จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2557 นับเป็นสำนักวิชาลำดับที่ 14 ของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เป็นสถาบันการศึกษาด้านจีนวิทยาในสังกัดของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ได้จัดการเรียนการสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรี ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือตอนบน ณ อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย

ประวัติ

สำนักวิชาจีนวิทยาจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 ตามแผนพัฒนามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงระยะที่ 3 (พ.ศ. 2555- 2559) นับเป็นสำนักวิชาที่ 14 ของมหาวิทยาลัย ซึ่งได้พัฒนาจากการเป็นสาขาวิชาภาษาจีน ภายใต้สำนักวิชาศิลปศาสตร์ สำนักวิชาจีนวิทยากำหนดวัตถุประสงค์หลักในการดำเนินงานดังนี้ เพื่อสร้างความเป็นเลิศด้านการเรียนการสอน การผลิตงานวิชาการ การสร้างสรรค์งานวิจัย และการให้บริการวิชาการในเรื่องต่างๆ อันเกี่ยวข้องกับประเทศจีน เพื่อผลิตบัณฑิตให้รอบรู้เรื่องจีน ไม่ว่าจะเป็นด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ตลอดจนมีความเข้าใจในแนวคิดวิถีจีนเป็นอย่างดี นอกเหนือไปจากความรู้ ความสามารถ และทักษะด้านภาษาจีน เพื่อสร้างพื้นฐานให้แก่นักศึกษาต่างสาขาของมหาวิทยาลัยในด้านความรู้เกี่ยวกับจีน และความเข้าใจในแนวคิดวิถีจีน นอกเหนือไปจากพื้นฐานทักษะภาษาจีน เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลในด้านต่างๆ เกี่ยวกับจีน และเป็นศูนย์กลางการติดต่อระหว่างชาวไทยกับชาวจีน และเพื่อแสวงหาความร่วมมือกับองค์กรภาครัฐและภาคเอกชนทั้งในประเทศและต่างประเทศในการพัฒนาภารกิจ คือ การเรียนการสอน งานวิชาการ งานวิจัย การให้บริการวิชาการ และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับจีน[1]

หลักสูตร

ปัจจุบัน สำนักวิชาจีนวิทยา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จัดการเรียนการสอนในหลักสูตร ได้แก่

ระดับปริญญาตรี
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.)
  • สาขาวิชาจีนศึกษา
  • สาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจ
  • สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมจีน

หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต (ศษ.บ.)

  • สาขาวิชาการสอนภาษาจีน

ทำเนียบคณบดี

คณบดีสำนักวิชาจีนวิทยา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง มีผู้ดำรงตำแหน่งคณบดี ดังนี้

ทำเนียบคณบดีสำนักวิชาจีนวิทยา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
รายนามคณบดี ระยะเวลาในการดำรงตำแหน่ง
1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปราณี โชคขจิตสัมพันธ์ 17 กรกฎาคม 2558 – 31 มีนาคม 2560
2. รองศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา วัธนสุนทร (รักษาการ) 1 เมษายน 2560 – 30 เมษายน 2561
3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ร่มเย็น โกไศยกานนท์ (รักษาการ) 1 พฤษภาคม 2561 – 30 เมษายน 2562
4. รองศาสตราจารย์ ดร.นันทนา คชเสนี (รักษาการ) 1 พฤษภาคม 2562 – 14 มิถุนายน 2563
1. ดร.ธีรภาพ ปรีดีพจน์ (รักษาการ) 15 มิถุนายน 2563 - ปัจจุบัน

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-01-15. สืบค้นเมื่อ 2021-01-14.

แหล่งข้อมูลอื่น