ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ค่าสัมบูรณ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pphongpan355 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 7740572 โดย 184.22.229.196ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
-|-23.086|-25.86
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Absolute value.svg|thumb|250px|กราฟของฟังก์ชันค่าสมบูรณ์]]
[[ไฟล์:Absolute value.svg|thumb|250px|กราฟของฟังก์ชันค่าสมบูรณ์]]
-|-23.086|-25.86

'''ค่าสัมบูรณ์''' หรือ '''มอดุลัส''' ({{lang-en|absolute value หรือ modulus}}) ใน[[คณิตศาสตร์]] คือ ผลต่างระหว่างจำนวนนั้นกับ 0 พูดง่ายๆคือ จำนวนที่ไม่มี[[เครื่องหมายลบ]] ตัวอย่างเช่น 3 คือค่าสัมบูรณ์ของ 3 และ −3
'''ค่าสัมบูรณ์''' หรือ '''มอดุลัส''' ({{lang-en|absolute value หรือ modulus}}) ใน[[คณิตศาสตร์]] คือ ผลต่างระหว่างจำนวนนั้นกับ 0 พูดง่ายๆคือ จำนวนที่ไม่มี[[เครื่องหมายลบ]] ตัวอย่างเช่น 3 คือค่าสัมบูรณ์ของ 3 และ −3



รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:06, 27 กันยายน 2564

กราฟของฟังก์ชันค่าสมบูรณ์

-|-23.086|-25.86 ค่าสัมบูรณ์ หรือ มอดุลัส (อังกฤษ: absolute value หรือ modulus) ในคณิตศาสตร์ คือ ผลต่างระหว่างจำนวนนั้นกับ 0 พูดง่ายๆคือ จำนวนที่ไม่มีเครื่องหมายลบ ตัวอย่างเช่น 3 คือค่าสัมบูรณ์ของ 3 และ −3

นิยาม

นิยามได้ดังนี้: สำหรับจำนวนจริงใดๆ a, ค่าสัมบูรณ์ของ a เขียนแทนด้วย |a| เท่ากับ a ถ้า a ≥ 0 และเท่ากับ −a ถ้า a < 0 (ดูเพิ่มเติม: อสมการ) |a| จะไม่เป็นจำนวนลบ ค่าสัมบูรณ์จะเป็นจำนวนบวกหรือศูนย์เสมอ นั่นคือจะไม่มีค่า a ที่ |a| < 0

ค่าสัมบูรณ์สามารถถือว่าเป็นระยะทางของจำนวนนั้นจากศูนย์ สัญกรณ์ของระยะทางในคณิตศาสตร์มักเขียนในรูปค่าสัมบูรณ์อยู่เสมอ เมื่อจำนวนจริงถูกพิจารณาเหมือนเป็นเวกเตอร์หนึ่งมิติ ค่าสัมบูรณ์คือขนาด และ p-นอร์มสำหรับ p ใดๆ ที่ตัวประกอบคงที่ ทุกๆนอร์มใน R1 จะเท่ากับค่าสัมบูรณ์: ||x||=||1||•|x|

สมบัติ

ค่าสัมบูรณ์มีสมบัติดังนี้

  1. |a| ≥ 0
  2. |a| = 0 ก็ต่อเมื่อ a = 0.
  3. |ab| = |a||b|
  4. |a/b| = |a| / |b| (ถ้า b ≠ 0)
  5. |a+b| ≤ |a| + |b| (อสมการอิงรูปสามเหลี่ยม)
  6. |ab| ≥ ||a| − |b||
  7. |a| ≤ b ก็ต่อเมื่อ −bab
  8. |a| ≥ b ก็ต่อเมื่อ a ≤ −b หรือ a ≥ b

คุณสมบัติสองอันสุดท้าย ใช้ในการแก้อสมการอยู่เสมอ ตัวอย่างเช่น

|x − 3| ≤ 9
−9 ≤ x−3 ≤ 9
−6 ≤ x ≤ 12

"x" = [-6,12]


|x − 3| ≥ 9
x − 3 ≤ -9 U x − 3 ≥ 9
x ≤ -6 U x ≥ 12

"x" = (-infinity,-6] U [12,infinity)

ค่าสัมบูรณ์และจำนวนเชิงซ้อน

(มอดุลัส)