ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิธีกงดอร์แซ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{ระบบการลงคะแนน}} '''วิธีกงดอร์แซ''' (Condorset method) ({{IPAc-en|lang|pron|k|ɒ|n|d|ɔr|ˈ|s|eɪ}}; {{IPA-fr|kɔ̃dɔʁsɛ|lang}}) คือระบบการลงคะแนนที่ใช้เลือกผู้สมัครที่ชนะคะแนนเสียงข้างมากในการ...
 
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ระบบการลงคะแนน}}
{{ระบบการลงคะแนน}}
'''วิธีกงดอร์แซ''' (Condorset method) ({{IPAc-en|lang|pron|k|ɒ|n|d|ɔr|ˈ|s|eɪ}}; {{IPA-fr|kɔ̃dɔʁsɛ|lang}}) คือ[[ระบบการลงคะแนน]]ที่ใช้เลือกผู้สมัครที่ชนะ[[การถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์|คะแนนเสียงข้างมาก]]ในการเลือกตั้งแบบตัวต่อตัว (head-to-head election) กับผู้สมัครรายอื่นแต่ละรายจนครบ กล่าวคือผู้สมัครรายนั้นได้รับความนิยมจากผู้ลงคะแนนมากกว่าผู้สมัครรายอื่นๆ ทั้งหมด ซึ่งผู้ชนะที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ข้างต้นนี้เรียกว่า ''ผู้ชนะทุกคน (beats-all winner)'' และเรียกอย่างเป็นทางการว่า ''ผู้ชนะแบบกงดอร์แซ (Condorcet winner)'' โดยการเลือกตั้งแบบตัวต่อตัวนั้นไม่จำเป็นจะต้องกระทำแยกเป็นครั้งๆ ไป โดยสามารถให้ผู้ลงคะแนนลงคะแนนผู้สมัครเป็นรายคู่โดยใช้ผลลัพธ์จากการจัดลำดับได้
'''วิธีกงดอร์แซ''' (Condorset method) ({{IPAc-en|lang|pron|k|ɒ|n|d|ɔr|ˈ|s|eɪ}}; {{IPA-fr|kɔ̃dɔʁsɛ|lang}}) คือ[[ระบบการลงคะแนน]]ที่ใช้เลือกผู้สมัครที่ชนะ[[การถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์|คะแนนเสียงข้างมาก]]ในการเลือกตั้งแบบตัวต่อตัว (head-to-head election) กับผู้สมัครรายอื่นแต่ละรายจนครบ กล่าวคือผู้สมัครรายนั้นได้รับความนิยมจากผู้ลงคะแนนมากกว่าผู้สมัครรายอื่นๆ ทั้งหมด ซึ่งผู้ชนะที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ข้างต้นนี้เรียกว่า ''ผู้ชนะทุกคน (beats-all winner)'' และเรียกอย่างเป็นทางการว่า ''ผู้ชนะแบบกงดอร์แซ (Condorcet winner)''<ref>{{cite journal |doi=10.1007/s003550000071 |quote=The Condorcet winner in an election is the candidate who would be able to defeat all other candidates in a series of pairwise elections.|title=Condorcet efficiency: A preference for indifference|year=2001|last1=Gehrlein|first1=William V.|last2=Valognes|first2=Fabrice|journal=Social Choice and Welfare|volume=18|pages=193–205|s2cid=10493112}}</ref> โดยการเลือกตั้งแบบตัวต่อตัวนั้นไม่จำเป็นจะต้องกระทำแยกเป็นครั้งๆ ไป โดยสามารถให้ผู้ลงคะแนนลงคะแนนผู้สมัครเป็นรายคู่โดยใช้ผลลัพธ์จากการจัดลำดับได้<ref>https://www.semanticscholar.org/paper/Four-Condorcet-Hare-Hybrid-Methods-for-Elections-Green-Armytage/49dba225741582cae5aabec6f1b5ff722f6fedf1 "Pairwise comparison: An imaginary head-to-head contest between two candidates, in which each voter is assumed to vote for the candidate whom he gives a better ranking to."</ref>


ในการเลือกตั้งบางกรณีไม่อาจหาผู้ชนะแบบกงดอร์แซได้เนื่องจากผลการลงคะแนนนั้นอาจจะเป็นวัฏจักร (cyclic) กล่าวคือมีความเป็นไปได้ (แต่พบได้ยาก) ว่าผู้สมัครทุกคนจะมีคู่แข่งที่แพ้ในการแข่งขันเป็นคู่ๆ เสมอกัน<ref>{{cite journal |jstor=30022874?seq=1 |quote=Condorcet's paradox [6] of simple majority voting occurs in a voting situation [...] if for every alternative there is a second alternative which more voters prefer to the first alternative than conversely.|last1=Gehrlein|first1=William V.|last2=Fishburn|first2=Peter C.|title=Condorcet's Paradox and Anonymous Preference Profiles|journal=Public Choice|year=1976|volume=26|pages=1–18|doi=10.1007/BF01725789|s2cid=153482816}}</ref> (คล้ายกับการ[[เป่ายิ้งฉุบ]]ที่การเสี่ยงมือแบบหนึ่งจะชนะแบบหนึ่งและแพ้อีกแบบหนึ่งได้) ความเป็นไปได้ของการเกิดวัฏจักรนั้นเรียกว่า [[ปฏิทรรศน์กงดอร์แซ]] (Condorset paradox) อย่างไรก็ตาม ผู้แข่งขันจากกลุ่มที่เล็กที่สุดที่สามารถเอาชนะผู้สมัครทุกรายที่ไม่อยู่ในกลุ่มเดียวกันได้มักจะเกิดขึ้นได้เสมอ ซึ่งเรียกกันว่า [[Smith set|กลุ่มสมิธ]] (Smith set) โดยกลุ่มสมิธหากมีอยู่จะสามารถรับรองว่าจะเลือกผู้ชนะของกงดอร์แซได้
ระบบการลงคะแนนแบบกงดอร์แซนั้นตั้งชื่อตามนักคณิตศาสตร์และนักปรัชญาชาวฝรั่งเศส [[มาร์กี เดอ กงดอร์แซ|มารี ฌ็อง อ็องตวน นิกอลา การีตา มาร์กี เดอ กงดอร์แซ]] ซึ่งเป็นผู้คิดค้นระบบนี้ขึ้นในศตวรรษที่ 18 อย่างไรก็ตามระบบคล้ายกันกับกงดอร์แซได้ถูกใช้ครั้งแรกในปีค.ศ. 1299 โดยรามอน ยุล นักปรัชญาชาวมายอร์กา โดยเป็นวิธีเดียวกันกับ[[วิธีของโคปแลนด์]]ในแบบที่ไม่มีคะแนนเสมอเป็นคู่


ระบบการลงคะแนนแบบกงดอร์แซนั้นตั้งชื่อตามนักคณิตศาสตร์และนักปรัชญาชาวฝรั่งเศส [[มาร์กี เดอ กงดอร์แซ|มารี ฌ็อง อ็องตวน นิกอลา การีตา มาร์กี เดอ กงดอร์แซ]] ซึ่งเป็นผู้คิดค้นระบบนี้ขึ้นในศตวรรษที่ 18 อย่างไรก็ตามระบบคล้ายกันกับกงดอร์แซได้ถูกใช้ครั้งแรกในปีค.ศ. 1299<ref>{{cite journal|author=G. Hägele and F. Pukelsheim|year=2001|title=Llull's writings on electoral systems|url=http://www.math.uni-augsburg.de/stochastik/pukelsheim/2001a.html|journal=Studia Lulliana|volume=41|pages=3–38|archiveurl=https://web.archive.org/web/20060207154726/http://www.math.uni-augsburg.de/stochastik/pukelsheim/2001a.html|archivedate=2006-02-07}}</ref> โดย[[Ramon Llull|รามอน ยุล]] นักปรัชญาชาวมายอร์กา โดยเป็นวิธีเดียวกันกับ[[วิธีของโคปแลนด์]]ในแบบที่ไม่มีคะแนนเสมอเป็นคู่<ref>
{{cite journal|last=Colomer|first=Josep|year=2013|title=Ramon Llull: From Ars Electionis to Social Choice Theory|url=https://www.researchgate.net/publication/220007301|journal=[[Social Choice and Welfare]]|volume=40|issue=2|pages=317–328|doi=10.1007/s00355-011-0598-2|hdl=10261/125715|s2cid=43015882|hdl-access=free}}</ref>


วิธีกงดอร์แซสามารถใช้บัตรลงคะแนน[[การลงคะแนนแบบจัดลำดับ|แบบจัดลำดับ]] [[การลงคะแนนแบบคาร์ดินัล|แบบคาร์ดินัล]] หรือใช้การลงคะแนนอย่างง่ายกับผู้สมัครเป็นคู่ๆ ได้ โดยวิธีส่วนใหญ่มักจะใช้[[การลงคะแนนแบบจัดลำดับ]]รอบเดียว ซึ่งผู้ลงคะแนนแต่ละคนจะต้องจัดลำดับผู้สมัครทั้งหมดเริ่มตั้งแต่ลำดับที่ชอบมากที่สุด (เริ่มที่ 1) ไปจนถึงลำดับท้ายสุด (เลขจำนวนที่มากขึ้น) การจัดลำดับนี้มักเรียกว่า ''ลำดับความชอบ (order of preference)'' ในการนับคะแนนสามารถกระทำได้หลายวิธีเพื่อตัดสินผู้ชนะ ในทุกวิธีของกงดอร์แซจะใช้หาผู้ชนะแบบกงดอร์แซในกรณีที่มีผู้ชนะที่เข้าเกณฑ์ หากไม่มีจะต้องใช้วิธีรองอื่นๆ ที่สามารถเลือกผู้ชนะคนอื่นๆ แทนได้ในกรณีที่เกิดผลเป็นวัฏจักร
{{clr}}
{{clr}}
==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:33, 14 กันยายน 2564

วิธีกงดอร์แซ (Condorset method) (ภาษาอังกฤษ: /kɒndɔːrˈs/; ภาษาฝรั่งเศส: [kɔ̃dɔʁsɛ]) คือระบบการลงคะแนนที่ใช้เลือกผู้สมัครที่ชนะคะแนนเสียงข้างมากในการเลือกตั้งแบบตัวต่อตัว (head-to-head election) กับผู้สมัครรายอื่นแต่ละรายจนครบ กล่าวคือผู้สมัครรายนั้นได้รับความนิยมจากผู้ลงคะแนนมากกว่าผู้สมัครรายอื่นๆ ทั้งหมด ซึ่งผู้ชนะที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ข้างต้นนี้เรียกว่า ผู้ชนะทุกคน (beats-all winner) และเรียกอย่างเป็นทางการว่า ผู้ชนะแบบกงดอร์แซ (Condorcet winner)[1] โดยการเลือกตั้งแบบตัวต่อตัวนั้นไม่จำเป็นจะต้องกระทำแยกเป็นครั้งๆ ไป โดยสามารถให้ผู้ลงคะแนนลงคะแนนผู้สมัครเป็นรายคู่โดยใช้ผลลัพธ์จากการจัดลำดับได้[2]

ในการเลือกตั้งบางกรณีไม่อาจหาผู้ชนะแบบกงดอร์แซได้เนื่องจากผลการลงคะแนนนั้นอาจจะเป็นวัฏจักร (cyclic) กล่าวคือมีความเป็นไปได้ (แต่พบได้ยาก) ว่าผู้สมัครทุกคนจะมีคู่แข่งที่แพ้ในการแข่งขันเป็นคู่ๆ เสมอกัน[3] (คล้ายกับการเป่ายิ้งฉุบที่การเสี่ยงมือแบบหนึ่งจะชนะแบบหนึ่งและแพ้อีกแบบหนึ่งได้) ความเป็นไปได้ของการเกิดวัฏจักรนั้นเรียกว่า ปฏิทรรศน์กงดอร์แซ (Condorset paradox) อย่างไรก็ตาม ผู้แข่งขันจากกลุ่มที่เล็กที่สุดที่สามารถเอาชนะผู้สมัครทุกรายที่ไม่อยู่ในกลุ่มเดียวกันได้มักจะเกิดขึ้นได้เสมอ ซึ่งเรียกกันว่า กลุ่มสมิธ (Smith set) โดยกลุ่มสมิธหากมีอยู่จะสามารถรับรองว่าจะเลือกผู้ชนะของกงดอร์แซได้

ระบบการลงคะแนนแบบกงดอร์แซนั้นตั้งชื่อตามนักคณิตศาสตร์และนักปรัชญาชาวฝรั่งเศส มารี ฌ็อง อ็องตวน นิกอลา การีตา มาร์กี เดอ กงดอร์แซ ซึ่งเป็นผู้คิดค้นระบบนี้ขึ้นในศตวรรษที่ 18 อย่างไรก็ตามระบบคล้ายกันกับกงดอร์แซได้ถูกใช้ครั้งแรกในปีค.ศ. 1299[4] โดยรามอน ยุล นักปรัชญาชาวมายอร์กา โดยเป็นวิธีเดียวกันกับวิธีของโคปแลนด์ในแบบที่ไม่มีคะแนนเสมอเป็นคู่[5]

วิธีกงดอร์แซสามารถใช้บัตรลงคะแนนแบบจัดลำดับ แบบคาร์ดินัล หรือใช้การลงคะแนนอย่างง่ายกับผู้สมัครเป็นคู่ๆ ได้ โดยวิธีส่วนใหญ่มักจะใช้การลงคะแนนแบบจัดลำดับรอบเดียว ซึ่งผู้ลงคะแนนแต่ละคนจะต้องจัดลำดับผู้สมัครทั้งหมดเริ่มตั้งแต่ลำดับที่ชอบมากที่สุด (เริ่มที่ 1) ไปจนถึงลำดับท้ายสุด (เลขจำนวนที่มากขึ้น) การจัดลำดับนี้มักเรียกว่า ลำดับความชอบ (order of preference) ในการนับคะแนนสามารถกระทำได้หลายวิธีเพื่อตัดสินผู้ชนะ ในทุกวิธีของกงดอร์แซจะใช้หาผู้ชนะแบบกงดอร์แซในกรณีที่มีผู้ชนะที่เข้าเกณฑ์ หากไม่มีจะต้องใช้วิธีรองอื่นๆ ที่สามารถเลือกผู้ชนะคนอื่นๆ แทนได้ในกรณีที่เกิดผลเป็นวัฏจักร

อ้างอิง

  1. Gehrlein, William V.; Valognes, Fabrice (2001). "Condorcet efficiency: A preference for indifference". Social Choice and Welfare. 18: 193–205. doi:10.1007/s003550000071. S2CID 10493112. The Condorcet winner in an election is the candidate who would be able to defeat all other candidates in a series of pairwise elections.
  2. https://www.semanticscholar.org/paper/Four-Condorcet-Hare-Hybrid-Methods-for-Elections-Green-Armytage/49dba225741582cae5aabec6f1b5ff722f6fedf1 "Pairwise comparison: An imaginary head-to-head contest between two candidates, in which each voter is assumed to vote for the candidate whom he gives a better ranking to."
  3. Gehrlein, William V.; Fishburn, Peter C. (1976). "Condorcet's Paradox and Anonymous Preference Profiles". Public Choice. 26: 1–18. doi:10.1007/BF01725789. JSTOR 30022874?seq=1. S2CID 153482816. Condorcet's paradox [6] of simple majority voting occurs in a voting situation [...] if for every alternative there is a second alternative which more voters prefer to the first alternative than conversely.
  4. G. Hägele and F. Pukelsheim (2001). "Llull's writings on electoral systems". Studia Lulliana. 41: 3–38. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-02-07.
  5. Colomer, Josep (2013). "Ramon Llull: From Ars Electionis to Social Choice Theory". Social Choice and Welfare. 40 (2): 317–328. doi:10.1007/s00355-011-0598-2. hdl:10261/125715. S2CID 43015882.

อ่านเพิ่มเติม

แหล่งข้อมูลอื่น

[[หมวดหมู่:|วิธีกงดอร์แซ]]