ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลีบดอก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
The Mark-7032 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 9622292 สร้างโดย The Mark-7032 (พูดคุย) ย้อนตาม วิกิพีเดีย:คู่มือการเขียน#ยัติภาค_(–)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
'''กลีบดอก''' ({{lang-en|petal}}) เป็นส่วนหนึ่งของ[[ดอก]] กลีบดอกเจริญมาจากใบที่เปลี่ยนรูป ล้อมรอบโครงสร้างสืบพันธุ์ของดอก กลีบดอกมักมีสีสันสดใส และรูปทรงสะดุดตาเพื่อดึงดูด[[พาหะถ่ายเรณู]]<ref>{{cite web|url=https://ngthai.com/science/15396/flowerstructure/|title=โครงสร้างของดอกไม้ อวัยวะสำคัญในการสืบพันธุ์ของพืชดอก|website=NGThai.com|date=November 21, 2018|accessdate=January 21, 2021}}</ref> เมื่อกลีบดอกอยู่รวมกันจะเรียกว่า วงกลีบดอก (corolla) กลีบดอกมักอยู่ร่วมกับ[[กลีบเลี้ยง]] ซึ่งเป็นใบเปลี่ยนรูปอีกชุดที่ทำหน้าที่ปกป้องดอก เมื่อวงกลีบดอกและวงกลีบเลี้ยงอยู่ด้วยกันจะเรียกว่า [[วงกลีบรวม]] (perianth) บางครั้งมีการใช้คำ[[กลีบรวม]] (tepal) เมื่อการแยกกลีบดอกและกลีบเลี้ยงเป็นไปได้ยาก โดยทั่วไปกลีบดอกเป็นส่วนที่เด่นชัดที่สุดของพืชดอก แต่พืชบางชนิด เช่น [[หญ้า]]มีกลีบดอกที่ลดรูปเล็กมากหรือไม่มีเลย<ref name=BSBI13>{{cite book|first1=T.|last1=Cope|first2=A.|last2=Gray|title=Grasses of the British Isles|date=30 October 2009|publisher=[[Botanical Society of Britain and Ireland]]|location=London, U.K.|isbn=9780901158420 }}</ref>{{rp|11}}
'''กลีบดอก''' ({{lang-en|petal}}) เป็นส่วนหนึ่งของ[[ดอก]] กลีบดอกเจริญมาจากใบที่เปลี่ยนรูป ล้อมรอบโครงสร้างสืบพันธุ์ของดอก กลีบดอกมักมีสีสันสดใส และรูปทรงสะดุดตาเพื่อดึงดูด[[พาหะถ่ายเรณู]]<ref>{{cite web|url=https://ngthai.com/science/15396/flowerstructure/|title=โครงสร้างของดอกไม้ อวัยวะสำคัญในการสืบพันธุ์ของพืชดอก|website=NGThai.com|date=November 21, 2018|accessdate=January 21, 2021}}</ref> เมื่อกลีบดอกอยู่รวมกันจะเรียกว่า วงกลีบดอก (corolla) กลีบดอกมักอยู่ร่วมกับ[[กลีบเลี้ยง]] ซึ่งเป็นใบเปลี่ยนรูปอีกชุดที่ทำหน้าที่ปกป้องดอก เมื่อวงกลีบดอกและวงกลีบเลี้ยงอยู่ด้วยกันจะเรียกว่า [[วงกลีบรวม]] (perianth) บางครั้งมีการใช้คำ[[กลีบรวม]] (tepal) เมื่อการแยกกลีบดอกและกลีบเลี้ยงเป็นไปได้ยาก โดยทั่วไปกลีบดอกเป็นส่วนที่เด่นชัดที่สุดของพืชดอก แต่พืชบางชนิด เช่น [[หญ้า]]มีกลีบดอกที่ลดรูปเล็กมากหรือไม่มีเลย<ref name=BSBI13>{{cite book|first1=T.|last1=Cope|first2=A.|last2=Gray|title=Grasses of the British Isles|date=30 October 2009|publisher=[[Botanical Society of Britain and Ireland]]|location=London, U.K.|isbn=9780901158420 }}</ref>{{rp|11}}


พืชแต่ละชนิดมีจำนวนกลีบดอกต่างกัน [[พืชใบเลี้ยงคู่แท้]]มีกลีบดอก 4 – 5 กลีบ ส่วน[[พืชใบเลี้ยงเดี่ยว]]มีกลีบดอก 3 – 6 กลีบ<ref>{{cite journal |title= The origin and diversification of angiosperms |author= Soltis, Pamela S.|author-link = Pamela S. Soltis|author2 = Douglas E. Soltis |journal= American Journal of Botany |year= 2004 |volume= 91 | pages= 1614–1626 |url= http://www.amjbot.org/cgi/content/full/91/10/1614 | doi= 10.3732/ajb.91.10.1614 |issue=10 |pmid=21652312|doi-access= free }}</ref> วงกลีบดอกมีความสมมาตรได้ทั้งแบบด้านข้างและแบบรัศมี<ref>{{cite web|url=https://www.dnp.go.th/botany/BFC/Dict_00.html|title=คำศัพท์น่ารู้ - พฤกษศาสตร์สำหรับเยาวชน|website=กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช|accessdate=January 21, 2021}}</ref> กล่าวคือดอกสมมาตรด้านข้างสามารถแบ่งเป็นสองด้านที่มีลักษณะเหมือนกันได้ครั้งเดียว<ref>{{cite web|url=https://www.usgs.gov/news/earthword-%E2%80%93-zygomorphic-0|title=Zygomorphic - EarthWord|website=USGS.gov|date=May 9, 2016|accessdate=January 21, 2021}}</ref> ขณะที่ดอกสมมาตรแบบรัศมียังคงมีลักษณะเหมือนกันทั้งสองด้าน แม้จะแบ่งหลายครั้ง<ref>{{cite web|url=https://www.britannica.com/science/symmetry-biology|title=Symmetry - biology|website=Britannica|accessdate=January 21, 2021}}</ref>
พืชแต่ละชนิดมีจำนวนกลีบดอกต่างกัน [[พืชใบเลี้ยงคู่แท้]]มีกลีบดอก 4–5 กลีบ ส่วน[[พืชใบเลี้ยงเดี่ยว]]มีกลีบดอก 3–6 กลีบ<ref>{{cite journal |title= The origin and diversification of angiosperms |author= Soltis, Pamela S.|author-link = Pamela S. Soltis|author2 = Douglas E. Soltis |journal= American Journal of Botany |year= 2004 |volume= 91 | pages= 1614–1626 |url= http://www.amjbot.org/cgi/content/full/91/10/1614 | doi= 10.3732/ajb.91.10.1614 |issue=10 |pmid=21652312|doi-access= free }}</ref> วงกลีบดอกมีความสมมาตรได้ทั้งแบบด้านข้างและแบบรัศมี<ref>{{cite web|url=https://www.dnp.go.th/botany/BFC/Dict_00.html|title=คำศัพท์น่ารู้ - พฤกษศาสตร์สำหรับเยาวชน|website=กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช|accessdate=January 21, 2021}}</ref> กล่าวคือดอกสมมาตรด้านข้างสามารถแบ่งเป็นสองด้านที่มีลักษณะเหมือนกันได้ครั้งเดียว<ref>{{cite web|url=https://www.usgs.gov/news/earthword-%E2%80%93-zygomorphic-0|title=Zygomorphic - EarthWord|website=USGS.gov|date=May 9, 2016|accessdate=January 21, 2021}}</ref> ขณะที่ดอกสมมาตรแบบรัศมียังคงมีลักษณะเหมือนกันทั้งสองด้าน แม้จะแบ่งหลายครั้ง<ref>{{cite web|url=https://www.britannica.com/science/symmetry-biology|title=Symmetry - biology|website=Britannica|accessdate=January 21, 2021}}</ref>


พืชสร้างกลีบดอกที่มีสีสัน กลิ่น และน้ำหวานเพื่อดึงดูดพาหะถ่ายเรณู ทั้งยังพัฒนากลไก ขนาด และรูปทรงให้เหมาะสมกับ[[การถ่ายเรณู]]แต่ละแบบ ดอกที่ใช้การถ่ายเรณูด้วยลมมีกลีบดอกเล็ก มีกลิ่นเล็กน้อยหรือไม่มีกลิ่น แต่มี[[ละอองเรณู]]จำนวนมากเพื่อเพิ่มโอกาสในการถ่ายเรณู<ref>{{cite journal|title=Wind Pollination in the Angiosperms: Evolutionary and Environmental Considerations|author=Donald R. Whitehead|journal=Evolution|volume=23|issue=1|year=1969|pages=28–35|doi=10.2307/2406479|pmid = 28562955|jstor=2406479}}</ref> ดอกที่ใช้การถ่ายเรณูด้วย[[แมลง]]มีสี – กลิ่นเฉพาะ และกลไกการสร้าง[[รังสีอัลตราไวโอเลต]]เพื่อนำทางแมลง<ref>{{cite web|url=https://www.thairath.co.th/news/foreign/1111040|title=ไขความลับวิธีที่ดอกไม้ใช้ยั่วยวนล่อใจผึ้ง|website=Thairath|date=October 30, 2017|accessdate=January 21, 2021}}</ref> ดอกที่ใช้การถ่ายเรณูด้วย[[นก]]จะมีขนาดใหญ่เพื่อช่วยให้นกมองเห็นในสภาพแวดล้อมธรรมชาติ และพัฒนาโครงสร้างให้ทนต่อนก[[จะงอยปาก]]แข็ง<ref>{{cite journal |first=Verne |last=Grant |title=The Protection of the Ovules in Flowering Plants|jstor=2405331|journal=Evolution |volume= 4|issue=3|year= 1950 |pages=179–201|doi=10.2307/2405331}}</ref> ส่วนดอกที่ใช้การถ่ายเรณูด้วย[[ค้างคาว]]จะมีขนาดใหญ่ มีสีอ่อนถึงสีขาว มีกลิ่นแรง และบานตอนกลางคืน<ref>{{cite web|url=https://www.fs.fed.us/wildflowers/pollinators/animals/bats.shtml|title=Bat Pollination|website=USDA Forest Service|accessdate=January 21, 2021}}</ref>
พืชสร้างกลีบดอกที่มีสีสัน กลิ่น และน้ำหวานเพื่อดึงดูดพาหะถ่ายเรณู ทั้งยังพัฒนากลไก ขนาด และรูปทรงให้เหมาะสมกับ[[การถ่ายเรณู]]แต่ละแบบ ดอกที่ใช้การถ่ายเรณูด้วยลมมีกลีบดอกเล็ก มีกลิ่นเล็กน้อยหรือไม่มีกลิ่น แต่มี[[ละอองเรณู]]จำนวนมากเพื่อเพิ่มโอกาสในการถ่ายเรณู<ref>{{cite journal|title=Wind Pollination in the Angiosperms: Evolutionary and Environmental Considerations|author=Donald R. Whitehead|journal=Evolution|volume=23|issue=1|year=1969|pages=28–35|doi=10.2307/2406479|pmid = 28562955|jstor=2406479}}</ref> ดอกที่ใช้การถ่ายเรณูด้วย[[แมลง]]มีสี–กลิ่นเฉพาะ และกลไกการสร้าง[[รังสีอัลตราไวโอเลต]]เพื่อนำทางแมลง<ref>{{cite web|url=https://www.thairath.co.th/news/foreign/1111040|title=ไขความลับวิธีที่ดอกไม้ใช้ยั่วยวนล่อใจผึ้ง|website=Thairath|date=October 30, 2017|accessdate=January 21, 2021}}</ref> ดอกที่ใช้การถ่ายเรณูด้วย[[นก]]จะมีขนาดใหญ่เพื่อช่วยให้นกมองเห็นในสภาพแวดล้อมธรรมชาติ และพัฒนาโครงสร้างให้ทนต่อนก[[จะงอยปาก]]แข็ง<ref>{{cite journal |first=Verne |last=Grant |title=The Protection of the Ovules in Flowering Plants|jstor=2405331|journal=Evolution |volume= 4|issue=3|year= 1950 |pages=179–201|doi=10.2307/2405331}}</ref> ส่วนดอกที่ใช้การถ่ายเรณูด้วย[[ค้างคาว]]จะมีขนาดใหญ่ มีสีอ่อนถึงสีขาว มีกลิ่นแรง และบานตอนกลางคืน<ref>{{cite web|url=https://www.fs.fed.us/wildflowers/pollinators/animals/bats.shtml|title=Bat Pollination|website=USDA Forest Service|accessdate=January 21, 2021}}</ref>


{{commons category|petals|กลีบดอก}}
{{commons category|petals|กลีบดอก}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:36, 10 กันยายน 2564

กลีบดอก (petal) และกลีบเลี้ยง (sepal) ของดอกหญ้ารักนา (Ludwigia octovalvis)
แผนภาพแสดงดอกสมมาตรแบบรัศมี (actinomorphic) และดอกสมมาตรด้านข้าง (zygomorphic)

กลีบดอก (อังกฤษ: petal) เป็นส่วนหนึ่งของดอก กลีบดอกเจริญมาจากใบที่เปลี่ยนรูป ล้อมรอบโครงสร้างสืบพันธุ์ของดอก กลีบดอกมักมีสีสันสดใส และรูปทรงสะดุดตาเพื่อดึงดูดพาหะถ่ายเรณู[1] เมื่อกลีบดอกอยู่รวมกันจะเรียกว่า วงกลีบดอก (corolla) กลีบดอกมักอยู่ร่วมกับกลีบเลี้ยง ซึ่งเป็นใบเปลี่ยนรูปอีกชุดที่ทำหน้าที่ปกป้องดอก เมื่อวงกลีบดอกและวงกลีบเลี้ยงอยู่ด้วยกันจะเรียกว่า วงกลีบรวม (perianth) บางครั้งมีการใช้คำกลีบรวม (tepal) เมื่อการแยกกลีบดอกและกลีบเลี้ยงเป็นไปได้ยาก โดยทั่วไปกลีบดอกเป็นส่วนที่เด่นชัดที่สุดของพืชดอก แต่พืชบางชนิด เช่น หญ้ามีกลีบดอกที่ลดรูปเล็กมากหรือไม่มีเลย[2]: 11 

พืชแต่ละชนิดมีจำนวนกลีบดอกต่างกัน พืชใบเลี้ยงคู่แท้มีกลีบดอก 4–5 กลีบ ส่วนพืชใบเลี้ยงเดี่ยวมีกลีบดอก 3–6 กลีบ[3] วงกลีบดอกมีความสมมาตรได้ทั้งแบบด้านข้างและแบบรัศมี[4] กล่าวคือดอกสมมาตรด้านข้างสามารถแบ่งเป็นสองด้านที่มีลักษณะเหมือนกันได้ครั้งเดียว[5] ขณะที่ดอกสมมาตรแบบรัศมียังคงมีลักษณะเหมือนกันทั้งสองด้าน แม้จะแบ่งหลายครั้ง[6]

พืชสร้างกลีบดอกที่มีสีสัน กลิ่น และน้ำหวานเพื่อดึงดูดพาหะถ่ายเรณู ทั้งยังพัฒนากลไก ขนาด และรูปทรงให้เหมาะสมกับการถ่ายเรณูแต่ละแบบ ดอกที่ใช้การถ่ายเรณูด้วยลมมีกลีบดอกเล็ก มีกลิ่นเล็กน้อยหรือไม่มีกลิ่น แต่มีละอองเรณูจำนวนมากเพื่อเพิ่มโอกาสในการถ่ายเรณู[7] ดอกที่ใช้การถ่ายเรณูด้วยแมลงมีสี–กลิ่นเฉพาะ และกลไกการสร้างรังสีอัลตราไวโอเลตเพื่อนำทางแมลง[8] ดอกที่ใช้การถ่ายเรณูด้วยนกจะมีขนาดใหญ่เพื่อช่วยให้นกมองเห็นในสภาพแวดล้อมธรรมชาติ และพัฒนาโครงสร้างให้ทนต่อนกจะงอยปากแข็ง[9] ส่วนดอกที่ใช้การถ่ายเรณูด้วยค้างคาวจะมีขนาดใหญ่ มีสีอ่อนถึงสีขาว มีกลิ่นแรง และบานตอนกลางคืน[10]

อ้างอิง

  1. "โครงสร้างของดอกไม้ อวัยวะสำคัญในการสืบพันธุ์ของพืชดอก". NGThai.com. November 21, 2018. สืบค้นเมื่อ January 21, 2021.
  2. Cope, T.; Gray, A. (30 October 2009). Grasses of the British Isles. London, U.K.: Botanical Society of Britain and Ireland. ISBN 9780901158420.
  3. Soltis, Pamela S.; Douglas E. Soltis (2004). "The origin and diversification of angiosperms". American Journal of Botany. 91 (10): 1614–1626. doi:10.3732/ajb.91.10.1614. PMID 21652312.
  4. "คำศัพท์น่ารู้ - พฤกษศาสตร์สำหรับเยาวชน". กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. สืบค้นเมื่อ January 21, 2021.
  5. "Zygomorphic - EarthWord". USGS.gov. May 9, 2016. สืบค้นเมื่อ January 21, 2021.
  6. "Symmetry - biology". Britannica. สืบค้นเมื่อ January 21, 2021.
  7. Donald R. Whitehead (1969). "Wind Pollination in the Angiosperms: Evolutionary and Environmental Considerations". Evolution. 23 (1): 28–35. doi:10.2307/2406479. JSTOR 2406479. PMID 28562955.
  8. "ไขความลับวิธีที่ดอกไม้ใช้ยั่วยวนล่อใจผึ้ง". Thairath. October 30, 2017. สืบค้นเมื่อ January 21, 2021.
  9. Grant, Verne (1950). "The Protection of the Ovules in Flowering Plants". Evolution. 4 (3): 179–201. doi:10.2307/2405331. JSTOR 2405331.
  10. "Bat Pollination". USDA Forest Service. สืบค้นเมื่อ January 21, 2021.