ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชะอม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
 
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
|genus = ''[[Senegalia]]''
|genus = ''[[Senegalia]]''
|species = '''''S. pennata'''''
|species = '''''S. pennata'''''
|binomial = ''Senegalia pennata''<ref>http://web.archive.org/20070321004550/www.fortunecity.com/campus/springbank/677/std1/P8.html</ref>
|binomial = ''Senegalia pennata''<ref>{{Cite web |url=http://www.fortunecity.com/campus/springbank/677/std1/P8.html |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2007-03-21 |archive-date=2007-03-21 |archive-url=https://web.archive.org/web/20070321004550/http://www.fortunecity.com/campus/springbank/677/std1/P8.html |url-status=dead }}</ref>
|binomial_authority = (L.) Maslin
|binomial_authority = (L.) Maslin
|synonyms = *''Acacia pennata'' <small>(L.) Willd.</small>
|synonyms = *''Acacia pennata'' <small>(L.) Willd.</small>

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:53, 9 กันยายน 2564

ชะอม
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
ไม่ได้จัดลำดับ: Angiosperms
ไม่ได้จัดลำดับ: Eudicots
ไม่ได้จัดลำดับ: Rosids
อันดับ: Fabales
วงศ์: Fabaceae
วงศ์ย่อย: Mimosoideae
สกุล: Senegalia
สปีชีส์: S.  pennata
ชื่อทวินาม
Senegalia pennata[1]
(L.) Maslin
ชื่อพ้อง
  • Acacia pennata (L.) Willd.

ชะอม เป็นพืชจำพวกอาเคเซีย นิยมรับประทานในทุกภาคของไทย เป็นพืชยื่นต้น ใช้ใบแก่และอ่อน เป็นสมุนไพร ของไทย ลำต้นของชะอมมีหนาม ใบมีขนาดเล็กและมีกลิ่นฉุน ใบอ่อนของชะอมหรือส่วนยอดของใบสามารถนำมารับประทานได้ มีชื่อเรียกแตกต่างกันไปแต่ละภาค โดยมากมักปลูกตามรั้วบ้านเนื่องจากมีหนามแล้วยังเป็นผักที่ทานได้ตลอดทั้งปี พืชอีกชนิดหนึ่งที่พบในประเทศ ซึ่งเป็นคนละสปีชีส์ย่อยกับชะอมคือผักคา[2]

การปลูก[แก้]

ปลูกโดย การปักชำ เพาะเมล็ดหรือตอนกิ่ง หรือการโน้มกิ่งลงดิน โดยไม่ได้ต่อตาหรือชำกิ่ง ส่วนมากใช้การเพาะเมล็ด เนื่องจากได้ต้นที่แข็งแรง ทนทานต่อสภาพอากาศและยังมีหนามมากกว่าการปลูกด้วยวิธีปลูกแบบอื่น

รูปแบบการเพาะนำเมล็ดใส่ถุงพลาสติก รดน้ำวันละครั้ง เมื่อเมล็ดงอกทำการย้ายลงดิน ปลูกห่างกันประมาณ 1 เมตร บำรุงต้นด้วย ปุ๋ยสดหรือมูลสัตว์ การเก็บยอดควรเหลือยอดไว้ 3-4 ยอด เพื่อให้ต้นได้โต ควรปลูกในฤดูร้อนช่วยรดน้ำเจริญดีกว่าปลูกในฤดูฝนหากปลูกในฤดูฝนชะอม มีโอากาศเมล็ดเน่าได้มาก ชะอมไม่ค่อยมีโรคและแมลงมารบกวนหากพบโรคป้องกันโดยใช้ ปูนขาวโรยรอบโคนต้นหรือจุ่มท่อนพันธุ์ในน้ำปูนขาวก่อนปลูก ส่วนแมลงมีหนอนกินยอดชะอม ใช้ยาฆ่าแมลงฉีดทุก ๆ 8 วัน ควรเก็บยอดชะอมหลังฉีดยาแล้วไม่น้อยกว่า 7 วันสามารถเก็บเกี่ยวจากต้นที่ปลูกกิ่งตอนได้ประมาณ 10 -15 วัน ตัดยอดขายได้ ทุก ๆ 2 วัน ควรบำรุงและดูแลต้นอย่างสม่ำเสมอ

การรับประทาน[แก้]

ไข่เจียวชะอม
  • นำยอดชะอมมาต้มหรือลวก รับประทานร่วมกับน้ำพริก
  • ใส่ลงพร้อมไข่เจียว

สรรพคุณทางยา[แก้]

  • ราก แก้ปวดท้อง ท้องอืด ท้องเฟ่อ ขับลมในลำไส้[3]
  • แก้ลิ้นอักเสบเป็นผื่นแดง[4]

รายอ้างอิง[แก้]

  1. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-03-21. สืบค้นเมื่อ 2007-03-21.
  2. ปิยะ เฉลิมกลิ่น จิรพันธุ์ ศรีทองกุล และอนันต์ พิริยะภัทรกิจ. พรรณไม้ที่พบครั้งแรกในประเทศไทย. กทม. โครงการพัฒนาองค์ความรู้และศึกษานโยบายการจัดการทรัพยากรชีวภาพ. 2551
  3. "สำเนาที่เก็บถาวร". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-03-21. สืบค้นเมื่อ 2007-03-21.
  4. http://www.eldercarethailand.com/index.php?option=com_content&task=view&id=476

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]