ผลต่างระหว่างรุ่นของ "Polyzoniida"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หน้าใหม่: {{Short description|อันดับของกิ้งกือ}} {{distinguish|Polyxenida|Pentazonia}} {{Taxobox | name = Polyzoniida | image = Octoglena bivirgata Santa Cruz county.jpg | image_caption = ''Octoglena bivirgata'' จากทางตะวันตกของสหรัฐ | regnum = Animalia | phylum = Arthropoda | subphylum = Myriapoda | classis = Diplopoda | subclassis = Chilognatha | infraclassis=Helm...
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 49: บรรทัด 49:
{{กิ้งกือ}}
{{กิ้งกือ}}
{{Taxonbar|from=Q6453302}}
{{Taxonbar|from=Q6453302}}

[[หมวดหมู่:Polyzoniida| ]]
[[หมวดหมู่:อันดับของกิ้งกือ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:47, 5 กันยายน 2564

Polyzoniida
Octoglena bivirgata จากทางตะวันตกของสหรัฐ
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Arthropoda
ไฟลัมย่อย: Myriapoda
ชั้น: Diplopoda
ชั้นย่อย: Chilognatha
ชั้นฐาน: Helminthomorpha
อันดับ: Polyzoniida
Cook, 1895
Families
ชื่อพ้อง

Ommatophora Brandt, 1840
Orthozonia Verhoeff, 1840

Polyzoniida เป็นอันดับของกิ้งกือในชั้นย่อย Colobognatha ประกอบไปด้วยสามวงศ์และอย่างน้อย 74 สปีชีส์ที่ได้รับการอธิบายรูปพรรณ[1]

ลักษณะ

Bdellozonium cerviculatum ตัวผู้จากทางตะวันตกของสหรัฐ มองจากด้านบนและด้านล่าง

กิ้งกือในอันดับนี้มีหลังที่ค่อนข้างนูนเป็นรูปโดม ด้านท้องแบน มีหัวขนาดเล็กลักษณะคล้ายกรวย มีตาเดี่ยวน้อย บนหลังไม่มีร่องและพาราโนตา (paranota; ส่วนที่ยื่นจากด้านข้างของแต่ละปล้อง)[2]

การจัดจำแนก

อันดับ Polyzoniida ประกอบไปด้วยสามวงศ์:[1]

Hirudisomatidae Silvestri, 1896 (6 genera, 20 species)
Polyzoniidae Newport, 1844 (6 genera, 22 species)
Siphonotidae Cook, 1895 (12 genera, 32 species)

การกระจายตัว

วงศ์ Hirudisomatidae พบตั้งแต่สเปนไปจนถึงหิมาลัยในยูเรเซีย, ญี่ปุ่น, และทวีปอเมริกาเหนือตั้งแต่ตะวันตกเฉียงใต้ของแคนาดาจนถึงเม็กซิโกตอนกลาง
Polyzoniidae มีการกระจายตัวทางซีกโลกเหนือ (holoractic distribution) ตั้งแต่ตะวันตกเฉียงเหนือไปจนถึงตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐ, แคนาดาตะวันออก, และในยุโรป ตั้งแต่สหราชอาณาจักรและฝรั่งเศสไปจนถึงไซบีเรีย
Siphonotidae มีการกระจายตัวทางซีกโลกใต้ พบได้ในบราซิลและชิลี, แอฟริกาใต้, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, อินโดนีเซีย, แทสเมเนีย, และนิวซีแลนด์[3][4]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 Shear, W. (2011). "Class Diplopoda de Blainville in Gervais, 1844" (PDF). ใน Zhang, Z.-Q. (บ.ก.). Animal biodiversity: an outline of higher-level classification and survey of taxonomic richness. Zootaxa. Vol. 3148. pp. 159–164. ISBN 978-1-86977-850-7.
  2. "Diagnostic features of Millipede Orders" (PDF). Milli-PEET Identification Tables. The Field Museum, Chicago. สืบค้นเมื่อ 25 October 2013.
  3. "Geographic distribution of Millipede Families" (PDF). Milli-PEET Identification Tables. The Field Museum, Chicago. สืบค้นเมื่อ 25 October 2013.
  4. Mesibov, Robert. "Millipede species: Polyzoniida". Tasmanian Multipedes. สืบค้นเมื่อ 14 November 2013.

แหล่งข้อมูลอื่น