ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าจอมช้อย ในรัชกาลที่ 4"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dharmadana (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
บรรทัด 24: บรรทัด 24:
'''เจ้าจอมช้อย''' (สกุลเดิม: '''โรจนดิศ''') เป็นพระสนมใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
'''เจ้าจอมช้อย''' (สกุลเดิม: '''โรจนดิศ''') เป็นพระสนมใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]


เจ้าจอมช้อย เป็นธิดาของ[[พระยาอัพภันตริกามาตย์ (ดิศ โรจนดิศ)]]<ref>[http://www.supadisdiskul.com/familytree03.html ข้อมูลโดยสังเขปหม่อมราชวงศ์ศุภดิศ ดิศกุล - ราชสกุลสายพระยาอัพภันตริกามาตย์ (ดิศ โรจนดิศ)]</ref> และขรัวยายคล้าย เป็นน้องสาวของ[[เจ้าจอมมารดาเที่ยง]] และเป็นพี่สาวของ[[เจ้าจอมมารดาชุ่ม ในรัชกาลที่ 4|เจ้าจอมมารดาชุ่ม]]<ref>[http://www.supadisdiskul.com/familytree02.html ข้อมูลโดยสังเขปหม่อมราชวงศ์ศุภดิศ ดิศกุล - ต้นสกุลของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ]</ref> นอกจากนี้ยังเป็นเป็นพี่สาวต่างมารดาของ[[เจ้าจอมมารดาทับทิม]] (ธิดาขรัวยายอิ่ม) และ[[เจ้าจอมมารดาแส]] (ธิดาขรัวยายบาง) ต่อมาถวายตัวเป็นเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
เจ้าจอมช้อย เป็นธิดาของ[[พระยาอัพภันตริกามาตย์ (ดิศ โรจนดิศ)]]<ref>{{Cite web |url=http://www.supadisdiskul.com/familytree03.html |title=ข้อมูลโดยสังเขปหม่อมราชวงศ์ศุภดิศ ดิศกุล - ราชสกุลสายพระยาอัพภันตริกามาตย์ (ดิศ โรจนดิศ) |access-date=2017-07-26 |archive-date=2011-06-29 |archive-url=https://web.archive.org/web/20110629180401/http://www.supadisdiskul.com/familytree03.html |url-status=dead }}</ref> และขรัวยายคล้าย เป็นน้องสาวของ[[เจ้าจอมมารดาเที่ยง]] และเป็นพี่สาวของ[[เจ้าจอมมารดาชุ่ม ในรัชกาลที่ 4|เจ้าจอมมารดาชุ่ม]]<ref>[http://www.supadisdiskul.com/familytree02.html ข้อมูลโดยสังเขปหม่อมราชวงศ์ศุภดิศ ดิศกุล - ต้นสกุลของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ]</ref> นอกจากนี้ยังเป็นเป็นพี่สาวต่างมารดาของ[[เจ้าจอมมารดาทับทิม]] (ธิดาขรัวยายอิ่ม) และ[[เจ้าจอมมารดาแส]] (ธิดาขรัวยายบาง) ต่อมาถวายตัวเป็นเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว


ต่อมาได้เกิดเหตุขุนสุวรรณ (เขียน) ใช้ให้กุหลาบภรรยา เข้าไปพูดจาแทะโลมเจ้าจอมช้อย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดฯ ให้ตระลาการชำระ แล้วให้นำขุนสุวรรณ (เขียน) และภรรยาไปประหารชีวิตเสียที่[[วัดดิสหงษาราม]] ส่วนเจ้าจอมช้อยนั้นให้ลงพระราชอาญาเฆี่ยนหกสิบทีแล้วจำไว้ ปรากฏใน ''พระราชพงศาวกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๔'' ว่า<ref>[http://vajirayana.org/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%9E%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A3-%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C-%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%8A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-%E0%B9%94/%E0%B9%97%E0%B9%92-%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B9%83%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A2 พระราชพงศาวดาร-กรุงรัตนโกสินทร์-รัชชกาลที่-๔/๗๒-เรื่องรักใคร่ระหว่างขุนสุวรรณกับเจ้าจอมช้อย]</ref>
ต่อมาได้เกิดเหตุขุนสุวรรณ (เขียน) ใช้ให้กุหลาบภรรยา เข้าไปพูดจาแทะโลมเจ้าจอมช้อย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดฯ ให้ตระลาการชำระ แล้วให้นำขุนสุวรรณ (เขียน) และภรรยาไปประหารชีวิตเสียที่[[วัดดิสหงษาราม]] ส่วนเจ้าจอมช้อยนั้นให้ลงพระราชอาญาเฆี่ยนหกสิบทีแล้วจำไว้ ปรากฏใน ''พระราชพงศาวกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๔'' ว่า<ref>[http://vajirayana.org/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%9E%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A3-%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C-%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%8A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-%E0%B9%94/%E0%B9%97%E0%B9%92-%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B9%83%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A2 พระราชพงศาวดาร-กรุงรัตนโกสินทร์-รัชชกาลที่-๔/๗๒-เรื่องรักใคร่ระหว่างขุนสุวรรณกับเจ้าจอมช้อย]</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:02, 2 กันยายน 2564

เจ้าจอมช้อย
คู่สมรสพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
บุพการีพระยาอัพภันตริกามาตย์ (ดิศ โรจนดิศ)
คล้าย โรจนดิศ

เจ้าจอมช้อย (สกุลเดิม: โรจนดิศ) เป็นพระสนมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

เจ้าจอมช้อย เป็นธิดาของพระยาอัพภันตริกามาตย์ (ดิศ โรจนดิศ)[1] และขรัวยายคล้าย เป็นน้องสาวของเจ้าจอมมารดาเที่ยง และเป็นพี่สาวของเจ้าจอมมารดาชุ่ม[2] นอกจากนี้ยังเป็นเป็นพี่สาวต่างมารดาของเจ้าจอมมารดาทับทิม (ธิดาขรัวยายอิ่ม) และเจ้าจอมมารดาแส (ธิดาขรัวยายบาง) ต่อมาถวายตัวเป็นเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ต่อมาได้เกิดเหตุขุนสุวรรณ (เขียน) ใช้ให้กุหลาบภรรยา เข้าไปพูดจาแทะโลมเจ้าจอมช้อย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดฯ ให้ตระลาการชำระ แล้วให้นำขุนสุวรรณ (เขียน) และภรรยาไปประหารชีวิตเสียที่วัดดิสหงษาราม ส่วนเจ้าจอมช้อยนั้นให้ลงพระราชอาญาเฆี่ยนหกสิบทีแล้วจำไว้ ปรากฏใน พระราชพงศาวกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๔ ว่า[3]

"ครั้นมาถึงเดือน ๗ นั้น เกิดความเรื่องอ้ายเขียนขุนสุวรรณ บุตรพระยาราชภักดี ให้อีกุหลาบภรรยาเข้าไปพูดจาแทะโลมเจ้าจอมช้อย บุตรพระยาบำเรอภักดี มีผู้ทิ้งหนังสือข้างใน โปรดฯ ให้ตระลาการชำระได้ความว่ารักใคร่ให้เข้าของกันเนืองๆ แต่ไม่ถึงตัวกัน ลูกขุนวางบทจึงให้เอาอ้ายเขียนอีกุหลาบไปประหารชีวิตเสียที่วัดมักสัน ณวันจันทร์ เดือน ๗ แรม ๑๒ ค่ำ (วันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2402) แต่ตัวอีช้อยนั้นให้ลงพระราชอาญาหกสิบแล้วสับเสี่ยงแล้วจำไว้

แล้วโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้เนรเทศพระโยคาญาณภิรัต วัดราชสิทธาราม ๑ เจ้าอธิการวัดบางประทุน ๑ เป็นผู้ให้น้ำมนต์อ้ายเขียนอีกุหลาบเนรเทศไปอยู่เมืองสงขลา"

อ้างอิง

  1. "ข้อมูลโดยสังเขปหม่อมราชวงศ์ศุภดิศ ดิศกุล - ราชสกุลสายพระยาอัพภันตริกามาตย์ (ดิศ โรจนดิศ)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-29. สืบค้นเมื่อ 2017-07-26.
  2. ข้อมูลโดยสังเขปหม่อมราชวงศ์ศุภดิศ ดิศกุล - ต้นสกุลของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ
  3. พระราชพงศาวดาร-กรุงรัตนโกสินทร์-รัชชกาลที่-๔/๗๒-เรื่องรักใคร่ระหว่างขุนสุวรรณกับเจ้าจอมช้อย