ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาคังเยีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
 
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
==แหล่งข้อมูลอื่น==
==แหล่งข้อมูลอื่น==
*[http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code=kxs Ethnologue report for language code:kxs]
*[http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code=kxs Ethnologue report for language code:kxs]
*[http://www.ethnic-languages.org.cn/kangjiayu.htm The Website of China's Minority Language Studies(中国民族语言研究网)] {{zh icon}}
*[http://www.ethnic-languages.org.cn/kangjiayu.htm The Website of China's Minority Language Studies(中国民族语言研究网)] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20110707050152/http://www.ethnic-languages.org.cn/kangjiayu.htm |date=2011-07-07 }} {{zh icon}}
{{โครงภาษา}}
{{โครงภาษา}}
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศจีน|คังเยีย]]
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศจีน|คังเยีย]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 23:58, 19 สิงหาคม 2564

ภาษาคังเยีย
ประเทศที่มีการพูดจีน
ภูมิภาคชิงไห่
จำนวนผู้พูด300 คน  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
กลุ่มภาษามองโกล
  • Shirongolic
    • ภาษาคังเยีย
รหัสภาษา
ISO 639-3kxs

ภาษาคังเยีย (Kangjia language; ภาษาจีน, 康家语 Kāngjiā Yǔ) เป็นภาษากลุ่มมองโกลที่เพิ่งพบใหม่ พูดโดยชาวมุสลิมประมาณ 300 คนใน เขตปกครองตนเองชนชาติทิเบตฮวงนาน (Huangnan Tibetan Autonomous Prefecture) ในมณฑลชิงไห่ ประเทศจีน ภาษานี้มีลักษณะเป็นภาษาที่อยู่กึ่งกลางระหว่างภาษาโบนันกับภาษาซานตาหรือภาษาดองเซียง

อ้างอิง[แก้]

  • Kim, Stephen S. "Santa". In: Juha Janhunen (ed.). The Mongolic Languages. New York: Routledge, 2003. pp. 347–8.
  • Siqinchaoketu [=Sechenchogtu]. Kangjiayu Yanjiu [A Study of the Kangjia Language]. Shanghai: Yuandong Chubanshe, 1999.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]