ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เขาคากาโบราซี"

พิกัด: 28°19′42″N 97°32′08″E / 28.32833°N 97.53556°E / 28.32833; 97.53556
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 2 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
บรรทัด 25: บรรทัด 25:
'''คากาโบราซี''' ({{lang-my|ခါကာဘိုရာဇီ}}; {{lang-en|Hkakabo Razi}}; {{zh|s=开加博峰|t=開加博峰|p=Kāijiābó Fēng}}) มีความสูง 5,881 เมตร (19,295 ฟุต) เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในภูมิภาค[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] จากระดับน้ำทะเล ตั้งอยู่บริเวณตอนเหนือของ[[ประเทศพม่า]] ในเมือง[[ปูดาโอ]] [[รัฐกะชีน]] เป็นส่วนหนึ่งของ[[เทือกเขาหิมาลัย]]ทางด้านตะวันออก ติดกับพรมแดน[[ประเทศจีน]] สถานะยอดเขาที่สูงที่สุดในภูมิภาคกำลังได้รับการท้าทายจากการสำรวจ[[เขากานลานราซี]] (Gamlang Razi) ในบริเวณใกล้เคียง ซึ่งมีความสูง 5,870 เมตร อาจมีขนาดสูงกว่าเขาคากาโบราซี<ref name=gamlang>Kayleigh Long, [http://www.mmtimes.com/index.php/national-news/8200-gamlang-razi-expedition-reaches-summit.html Gamlang Razi expedition reaches summit], [[The Myanmar Times]], 19 September 2013.<br>Trevor Brown, [http://blog.junipersys.com/gamlang-razi-elevation/ Gamlang Razi – Setting the Elevation Straight]</ref><ref>http://news-beta.nationalgeographic.com/2015/01/150116-burma-climb-myanmar-hkakabo-razi/</ref>
'''คากาโบราซี''' ({{lang-my|ခါကာဘိုရာဇီ}}; {{lang-en|Hkakabo Razi}}; {{zh|s=开加博峰|t=開加博峰|p=Kāijiābó Fēng}}) มีความสูง 5,881 เมตร (19,295 ฟุต) เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในภูมิภาค[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] จากระดับน้ำทะเล ตั้งอยู่บริเวณตอนเหนือของ[[ประเทศพม่า]] ในเมือง[[ปูดาโอ]] [[รัฐกะชีน]] เป็นส่วนหนึ่งของ[[เทือกเขาหิมาลัย]]ทางด้านตะวันออก ติดกับพรมแดน[[ประเทศจีน]] สถานะยอดเขาที่สูงที่สุดในภูมิภาคกำลังได้รับการท้าทายจากการสำรวจ[[เขากานลานราซี]] (Gamlang Razi) ในบริเวณใกล้เคียง ซึ่งมีความสูง 5,870 เมตร อาจมีขนาดสูงกว่าเขาคากาโบราซี<ref name=gamlang>Kayleigh Long, [http://www.mmtimes.com/index.php/national-news/8200-gamlang-razi-expedition-reaches-summit.html Gamlang Razi expedition reaches summit], [[The Myanmar Times]], 19 September 2013.<br>Trevor Brown, [http://blog.junipersys.com/gamlang-razi-elevation/ Gamlang Razi – Setting the Elevation Straight]</ref><ref>http://news-beta.nationalgeographic.com/2015/01/150116-burma-climb-myanmar-hkakabo-razi/</ref>


เขาคากาโบราซีเป็นส่วนหนึ่งของอุทยานแห่งชาติคากาโบราซี อุทยานมีลักษณะสภาพเป็นภูเขาและป่าฝนเขตร้อนเขียวชอุ่มตลอดทั้งปี และมีความหนาแน่นที่ระดับความสูง 8,000 ถึง 9,000 ฟุต (2,400–2,700 เมตร) มีอาณาเขตเป็นบริเวณกว้าง ถัดมาจึงเป็นป่าไม้กึ่งประเภทผลัดใบ สูงสุดของเขตป่าคือบนพื้นที่สูงกว่า 11,000 ฟุต (3,400 เมตร) เป็นบริเวณที่มีหิมะตก จึงทำให้เชิงเทือกเขาภายในอุทยานมีชนิดของป่าและชีวภาพที่หลากหลาย สูงขึ้นไปประมาณ 15,000 ฟุต (4,600 เมตร) เป็นภูมิประเทศหนาวเย็นแห้งแล้งมีลมแรง มี[[หิมะ]]และ[[ธารน้ำแข็ง]]แบบถาวร ที่ความสูงประมาณ 17,500 ฟุต (5,300 เมตร) มีช่องธารน้ำแข็งขนาดใหญ่หลายแห่ง<ref>{{Cite web |url= http://protectedplanet.net/sites/Khakaborazi_National_Park |title= Khakaborazi National Park |work=protectedplanet.net}}</ref><ref>[http://www.asterism.info/parks/khakaborazi/ Asterism Travels & Tours - Myanmar]</ref>
เขาคากาโบราซีเป็นส่วนหนึ่งของอุทยานแห่งชาติคากาโบราซี อุทยานมีลักษณะสภาพเป็นภูเขาและป่าฝนเขตร้อนเขียวชอุ่มตลอดทั้งปี และมีความหนาแน่นที่ระดับความสูง 8,000 ถึง 9,000 ฟุต (2,400–2,700 เมตร) มีอาณาเขตเป็นบริเวณกว้าง ถัดมาจึงเป็นป่าไม้กึ่งประเภทผลัดใบ สูงสุดของเขตป่าคือบนพื้นที่สูงกว่า 11,000 ฟุต (3,400 เมตร) เป็นบริเวณที่มีหิมะตก จึงทำให้เชิงเทือกเขาภายในอุทยานมีชนิดของป่าและชีวภาพที่หลากหลาย สูงขึ้นไปประมาณ 15,000 ฟุต (4,600 เมตร) เป็นภูมิประเทศหนาวเย็นแห้งแล้งมีลมแรง มี[[หิมะ]]และ[[ธารน้ำแข็ง]]แบบถาวร ที่ความสูงประมาณ 17,500 ฟุต (5,300 เมตร) มีช่องธารน้ำแข็งขนาดใหญ่หลายแห่ง<ref>{{Cite web |url= http://protectedplanet.net/sites/Khakaborazi_National_Park |title= Khakaborazi National Park |work= protectedplanet.net |access-date= 2018-02-27 |archive-date= 2013-03-26 |archive-url= https://web.archive.org/web/20130326045637/http://protectedplanet.net/sites/Khakaborazi_National_Park |url-status= dead }}</ref><ref>[http://www.asterism.info/parks/khakaborazi/ Asterism Travels & Tours - Myanmar]</ref>


เขาคากาโบราซีมีสภาพเป็นหิมะและน้ำแข็งหนาวเย็นตลอดทั้งปี ทำให้มีทัศนียภาพสวยงาม แปลกตาไปจากยอดเขาหรือเทือกเขาอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่กลับแลดูคล้ายยอดเขาในทวีปยุโรป เมื่อถึงฤดูร้อนน้ำแข็งและหิมะจะละลายทำให้เกิดเป็นทะเลสาบบนภูเขาและธารน้ำแข็งจำนวนมาก อีกทั้งยังมีความหลากหลายทางชีวภาพแตกต่างไปจากยอดเขาหรือเทือกเขาอื่น ๆ ในภูมิภาคเดียวกัน จึงทำให้เป็นที่นิยมของนักวิทยาศาสตร์ที่เข้ามาศึกษาเกี่ยวกับพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ที่นี่ และยังเป็นสถานที่ยอดนิยมสำหรับการปีนเขา โดยเขาคากาโบราซีได้ถูกปีนพิชิตเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1996 โดยนักปีนเขาชาวญี่ปุ่นและชาวพม่า โดยใช้เวลาประมาณ 30 วัน<ref>{{cite web|url=http://tv.ohozaa.com/hourly-rerun/tpbs/2014-10-08/21/|title=ที่นี่ไทยพีบีเอส|date=8 October 2014|accessdate=9 October 2014|publisher=ไทยพีบีเอส}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.youtube.com/watch?v=7nI8BZ1FHRg|title= ข่าวฟ้ายามเย็น 08 10 57 เบรก4|date=8 October 2014|accessdate=9 October 2014|publisher=ฟ้าวันใหม่}}</ref><ref>{{cite book |last=Klieger |first=P. Christiaan |year=2006 |chapter=A Tale of the Tibeto-Burman 'Pygmies' |editor=P. Christiaan Klieger |title=Proceedings of the Tenth Seminar of the IATS, 2003, Volume 2 Tibetan Borderlands |place=Leiden |publisher=Brill Academic Press |isbn=978-90-04-15482-7}}</ref>
เขาคากาโบราซีมีสภาพเป็นหิมะและน้ำแข็งหนาวเย็นตลอดทั้งปี ทำให้มีทัศนียภาพสวยงาม แปลกตาไปจากยอดเขาหรือเทือกเขาอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่กลับแลดูคล้ายยอดเขาในทวีปยุโรป เมื่อถึงฤดูร้อนน้ำแข็งและหิมะจะละลายทำให้เกิดเป็นทะเลสาบบนภูเขาและธารน้ำแข็งจำนวนมาก อีกทั้งยังมีความหลากหลายทางชีวภาพแตกต่างไปจากยอดเขาหรือเทือกเขาอื่น ๆ ในภูมิภาคเดียวกัน จึงทำให้เป็นที่นิยมของนักวิทยาศาสตร์ที่เข้ามาศึกษาเกี่ยวกับพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ที่นี่ และยังเป็นสถานที่ยอดนิยมสำหรับการปีนเขา โดยเขาคากาโบราซีได้ถูกปีนพิชิตเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1996 โดยนักปีนเขาชาวญี่ปุ่นและชาวพม่า โดยใช้เวลาประมาณ 30 วัน<ref>{{cite web|url=http://tv.ohozaa.com/hourly-rerun/tpbs/2014-10-08/21/|title=ที่นี่ไทยพีบีเอส|date=8 October 2014|accessdate=9 October 2014|publisher=ไทยพีบีเอส}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.youtube.com/watch?v=7nI8BZ1FHRg|title= ข่าวฟ้ายามเย็น 08 10 57 เบรก4|date=8 October 2014|accessdate=9 October 2014|publisher=ฟ้าวันใหม่}}</ref><ref>{{cite book |last=Klieger |first=P. Christiaan |year=2006 |chapter=A Tale of the Tibeto-Burman 'Pygmies' |editor=P. Christiaan Klieger |title=Proceedings of the Tenth Seminar of the IATS, 2003, Volume 2 Tibetan Borderlands |place=Leiden |publisher=Brill Academic Press |isbn=978-90-04-15482-7}}</ref>
บรรทัด 33: บรรทัด 33:


==แหล่งข้อมูลอื่น==
==แหล่งข้อมูลอื่น==
* [http://www.myanmar.com/Ministry/ecotourism/ Ministry of Ecotourism]
* [http://www.myanmar.com/Ministry/ecotourism/ Ministry of Ecotourism] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20021003052108/http://www.myanmar.com/Ministry/ecotourism/ |date=2002-10-03 }}
* [https://web.archive.org/web/20060314032834/http://www.goldenlandpages.com/hotspots/myitky.htm Site with photographs]
* [https://web.archive.org/web/20060314032834/http://www.goldenlandpages.com/hotspots/myitky.htm Site with photographs]
* [https://www.youtube.com/watch?v=Lm9HRex436c Mt. Hkarkaborazi (Highest Mountain Peak in SE Asia) Part-1]
* [https://www.youtube.com/watch?v=Lm9HRex436c Mt. Hkarkaborazi (Highest Mountain Peak in SE Asia) Part-1]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:12, 10 สิงหาคม 2564

คากาโบราซี
ခါကာဘိုရာဇီ
คากาโบราซีตั้งอยู่ในประเทศพม่า
คากาโบราซี
คากาโบราซี
แผนที่แสดงยอดเขาในประเทศพม่า
จุดสูงสุด
ความสูง
เหนือระดับน้ำทะเล
5,881 เมตร (19,295 ฟุต) [1]
รายชื่อจุดสูงสุดของประเทศ
พิกัด28°19′42″N 97°32′08″E / 28.32833°N 97.53556°E / 28.32833; 97.53556
ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
ที่ตั้ง
เทือกเขาหิมาลัย
การพิชิต
พิชิตครั้งแรก15 กันยายน ค.ศ. 1996[1]
เส้นทางง่ายสุดปีนเขา (หิมะ/น้ำแข็ง)

คากาโบราซี (พม่า: ခါကာဘိုရာဇီ; อังกฤษ: Hkakabo Razi; จีนตัวย่อ: 开加博峰; จีนตัวเต็ม: 開加博峰; พินอิน: Kāijiābó Fēng) มีความสูง 5,881 เมตร (19,295 ฟุต) เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จากระดับน้ำทะเล ตั้งอยู่บริเวณตอนเหนือของประเทศพม่า ในเมืองปูดาโอ รัฐกะชีน เป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาหิมาลัยทางด้านตะวันออก ติดกับพรมแดนประเทศจีน สถานะยอดเขาที่สูงที่สุดในภูมิภาคกำลังได้รับการท้าทายจากการสำรวจเขากานลานราซี (Gamlang Razi) ในบริเวณใกล้เคียง ซึ่งมีความสูง 5,870 เมตร อาจมีขนาดสูงกว่าเขาคากาโบราซี[2][3]

เขาคากาโบราซีเป็นส่วนหนึ่งของอุทยานแห่งชาติคากาโบราซี อุทยานมีลักษณะสภาพเป็นภูเขาและป่าฝนเขตร้อนเขียวชอุ่มตลอดทั้งปี และมีความหนาแน่นที่ระดับความสูง 8,000 ถึง 9,000 ฟุต (2,400–2,700 เมตร) มีอาณาเขตเป็นบริเวณกว้าง ถัดมาจึงเป็นป่าไม้กึ่งประเภทผลัดใบ สูงสุดของเขตป่าคือบนพื้นที่สูงกว่า 11,000 ฟุต (3,400 เมตร) เป็นบริเวณที่มีหิมะตก จึงทำให้เชิงเทือกเขาภายในอุทยานมีชนิดของป่าและชีวภาพที่หลากหลาย สูงขึ้นไปประมาณ 15,000 ฟุต (4,600 เมตร) เป็นภูมิประเทศหนาวเย็นแห้งแล้งมีลมแรง มีหิมะและธารน้ำแข็งแบบถาวร ที่ความสูงประมาณ 17,500 ฟุต (5,300 เมตร) มีช่องธารน้ำแข็งขนาดใหญ่หลายแห่ง[4][5]

เขาคากาโบราซีมีสภาพเป็นหิมะและน้ำแข็งหนาวเย็นตลอดทั้งปี ทำให้มีทัศนียภาพสวยงาม แปลกตาไปจากยอดเขาหรือเทือกเขาอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่กลับแลดูคล้ายยอดเขาในทวีปยุโรป เมื่อถึงฤดูร้อนน้ำแข็งและหิมะจะละลายทำให้เกิดเป็นทะเลสาบบนภูเขาและธารน้ำแข็งจำนวนมาก อีกทั้งยังมีความหลากหลายทางชีวภาพแตกต่างไปจากยอดเขาหรือเทือกเขาอื่น ๆ ในภูมิภาคเดียวกัน จึงทำให้เป็นที่นิยมของนักวิทยาศาสตร์ที่เข้ามาศึกษาเกี่ยวกับพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ที่นี่ และยังเป็นสถานที่ยอดนิยมสำหรับการปีนเขา โดยเขาคากาโบราซีได้ถูกปีนพิชิตเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1996 โดยนักปีนเขาชาวญี่ปุ่นและชาวพม่า โดยใช้เวลาประมาณ 30 วัน[6][7][8]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 Tamotsu Nakamura, Veiled Mountains in North Myanmar, Japanese Alpine News 2015
  2. Kayleigh Long, Gamlang Razi expedition reaches summit, The Myanmar Times, 19 September 2013.
    Trevor Brown, Gamlang Razi – Setting the Elevation Straight
  3. http://news-beta.nationalgeographic.com/2015/01/150116-burma-climb-myanmar-hkakabo-razi/
  4. "Khakaborazi National Park". protectedplanet.net. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-03-26. สืบค้นเมื่อ 2018-02-27.
  5. Asterism Travels & Tours - Myanmar
  6. "ที่นี่ไทยพีบีเอส". ไทยพีบีเอส. 8 October 2014. สืบค้นเมื่อ 9 October 2014.
  7. "ข่าวฟ้ายามเย็น 08 10 57 เบรก4". ฟ้าวันใหม่. 8 October 2014. สืบค้นเมื่อ 9 October 2014.
  8. Klieger, P. Christiaan (2006). "A Tale of the Tibeto-Burman 'Pygmies'". ใน P. Christiaan Klieger (บ.ก.). Proceedings of the Tenth Seminar of the IATS, 2003, Volume 2 Tibetan Borderlands. Leiden: Brill Academic Press. ISBN 978-90-04-15482-7.

แหล่งข้อมูลอื่น