ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดราชบุรี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poompong1986 (คุย | ส่วนร่วม)
Poompong1986 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
หลังจากที่ประเทศไทยมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ในปี 2540 จึงได้มีการเลือกตั้ง[[สมาชิกวุฒิสภา]]ครั้งแรกในประเทศไทย ตามบทบัญญัติของ[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540]] มาตรา 315 ซึ่งบัญญัติให้สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน โดยกำหนดให้มีการเลือกตั้งในวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2543<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2542/A/127/5.PDF พระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2543 (ในวันที่ 4 มีนาคม 2543)]</ref> จังหวัดราชบุรีมีจำนวนสมาชิกวุฒิสภาในการเลือกตั้งครั้งแรก จำนวน 3 คน คือ ร้อยตำรวจโท [[เชาวริน ลัทธศักดิ์ศิริ]] [[นภินทร ศรีสรรพางค์]] และ [[ปราโมทย์ ไพชนม์]]
หลังจากที่ประเทศไทยมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ในปี 2540 จึงได้มีการเลือกตั้ง[[สมาชิกวุฒิสภา]]ครั้งแรกในประเทศไทย ตามบทบัญญัติของ[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540]] มาตรา 315 ซึ่งบัญญัติให้สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน โดยกำหนดให้มีการเลือกตั้งในวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2543<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2542/A/127/5.PDF พระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2543 (ในวันที่ 4 มีนาคม 2543)]</ref> จังหวัดราชบุรีมีจำนวนสมาชิกวุฒิสภาในการเลือกตั้งครั้งแรก จำนวน 3 คน คือ ร้อยตำรวจโท [[เชาวริน ลัทธศักดิ์ศิริ]] [[นภินทร ศรีสรรพางค์]] และ [[ปราโมทย์ ไพชนม์]]


* สมาชิกวุฒิสภาสตรีคนแรกของจังหวัดเชียงใหม่ คือ [[เพียงเพ็ญ ศักดิ์สมบูรณ์|นางเพียงเพ็ญ ศักดิ์สมบูรณ์]] (จากการเลือกตั้งใน พ.ศ. 2557)
* สมาชิกวุฒิสภาสตรีคนแรกของจังหวัดราชบุรี คือ [[เพียงเพ็ญ ศักดิ์สมบูรณ์|นางเพียงเพ็ญ ศักดิ์สมบูรณ์]] (จากการเลือกตั้งใน พ.ศ. 2557)
* ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
* ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
**'''ศักดิ์สมบูรณ์''' (2 คน) ได้แก่ [[เกชา ศักดิ์สมบูรณ์]] และ [[เพียงเพ็ญ ศักดิ์สมบูรณ์|นางเพียงเพ็ญ ศักดิ์สมบูรณ์]]
**'''ศักดิ์สมบูรณ์''' (2 คน) ได้แก่ [[เกชา ศักดิ์สมบูรณ์]] และ [[เพียงเพ็ญ ศักดิ์สมบูรณ์|นางเพียงเพ็ญ ศักดิ์สมบูรณ์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:13, 27 กรกฎาคม 2564

จังหวัดราชบุรี มีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาครั้งแรก ในปี 2543 มีจำนวนสมาชิกวุฒิสภา จำนวน 3 คน และมีการเลือกตั้งครั้งล่าสุด เมื่อปี 2557 มีจำนวนสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดละ 1 คนทั่วประเทศ

ประวัติศาสตร์

หลังจากที่ประเทศไทยมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ในปี 2540 จึงได้มีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาครั้งแรกในประเทศไทย ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 315 ซึ่งบัญญัติให้สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน โดยกำหนดให้มีการเลือกตั้งในวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2543[1] จังหวัดราชบุรีมีจำนวนสมาชิกวุฒิสภาในการเลือกตั้งครั้งแรก จำนวน 3 คน คือ ร้อยตำรวจโท เชาวริน ลัทธศักดิ์ศิริ นภินทร ศรีสรรพางค์ และ ปราโมทย์ ไพชนม์

รายนามสมาชิกวุฒิสภาจังหวัด

ชุดที่ 8-9; พ.ศ. 2543-2549

ลำดับ ชุดที่ 8 พ.ศ. 2543 ชุดที่ 9 พ.ศ. 2549
1 ร้อยตำรวจโท เชาวริน ลัทธศักดิ์ศิริ วันชัย ธีระสัตยกุล
2 นภินทร ศรีสรรพางค์ โกเมศ แดงทองดี
3 ปราโมทย์ ไพชนม์ เกชา ศักดิ์สมบูรณ์

ชุดที่ 10-11; พ.ศ. 2551-2557

ลำดับ ชุดที่ 10 พ.ศ. 2551 ชุดที่ 11 พ.ศ. 2557
1 เกชา ศักดิ์สมบูรณ์ เพียงเพ็ญ ศักดิ์สมบูรณ์

อ้างอิง