ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พี่เบิ้ม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
ในวัฒนธรรมสมัยใหม่ คำว่า "บิ๊กบราเตอร์" เป็น[[lexicon|เล็กซิคอน]]สำหรับเรียกการใช้อำนาจโดยมิชอบของรัฐบาล โดยเฉพาะการละเมิดซึ่ง[[civil liberties|เสรีภาพประชาชน]] และมักเกี่ยวข้องกับ[[mass surveillance|การตรวจตราประชาชน]]
ในวัฒนธรรมสมัยใหม่ คำว่า "บิ๊กบราเตอร์" เป็น[[lexicon|เล็กซิคอน]]สำหรับเรียกการใช้อำนาจโดยมิชอบของรัฐบาล โดยเฉพาะการละเมิดซึ่ง[[civil liberties|เสรีภาพประชาชน]] และมักเกี่ยวข้องกับ[[mass surveillance|การตรวจตราประชาชน]]


[[Douglas Kellner|ดักลาส เคลเนอร์]] อาจารย์ของ[[University of California, Los Angeles|มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียลอสแอนเจลิส]]เคยตั้งข้อสงสัยว่าพี่เบิ่มนั้นได้รูปแบบมาจาก[[Joseph Stalin|จอเซฟ สตาลิน]] เพื่อแทน[[คอมมิวนิสต์]]และ[[ลัทธิสตาลิน]], รวมถึง [[อะดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] เพื่อแทน[[ลัทธินาซี]]<ref>{{cite web|url=http://gseis.ucla.edu/faculty/kellner/index.html |title=Douglas Kellner, George F. Kneller Philosophy of Education Chair, UCLA |work=ucla.edu |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20110709224448/http://gseis.ucla.edu/faculty/kellner/index.html |archive-date=9 July 2011 }}</ref><ref>{{cite web|url=http://gseis.ucla.edu/faculty/kellner/essays/from1984toonedimensional.pdf|title=From 1984 to One-Dimensional Man: Critical Reflections on Orwell and Marcuse|url-status=dead|archive-url=https://web.archive.org/web/20110829021052/http://gseis.ucla.edu/faculty/kellner/essays/from1984toonedimensional.pdf|archive-date=29 August 2011}}</ref>
[[Douglas Kellner|ดักลาส เคลเนอร์]] อาจารย์ของ[[University of California, Los Angeles|มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียลอสแอนเจลิส]]เคยตั้งข้อสงสัยว่าพี่เบิ่มนั้นได้รูปแบบมาจาก[[Joseph Stalin|จอเซฟ สตาลิน]] เพื่อแทน[[คอมมิวนิสต์]]และ[[ลัทธิสตาลิน]], รวมถึง [[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] เพื่อแทน[[ลัทธินาซี]]<ref>{{cite web|url=http://gseis.ucla.edu/faculty/kellner/index.html |title=Douglas Kellner, George F. Kneller Philosophy of Education Chair, UCLA |work=ucla.edu |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20110709224448/http://gseis.ucla.edu/faculty/kellner/index.html |archive-date=9 July 2011 }}</ref><ref>{{cite web|url=http://gseis.ucla.edu/faculty/kellner/essays/from1984toonedimensional.pdf|title=From 1984 to One-Dimensional Man: Critical Reflections on Orwell and Marcuse|url-status=dead|archive-url=https://web.archive.org/web/20110829021052/http://gseis.ucla.edu/faculty/kellner/essays/from1984toonedimensional.pdf|archive-date=29 August 2011}}</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:51, 21 กรกฎาคม 2564

พี่เบิ้ม
ปรากฏครั้งแรกหนึ่ง-เก้า-แปด-สี่ (1949)
สร้างโดยจอร์จ ออร์เวลล์
ข้อมูลตัวละครในเรื่อง
เพศชาย
อาชีพผู้นำแห่งโอชีอาเนีย

พี่เบิ้ม หรือ บิ๊กบราเตอร์ (อังกฤษ: Big Brother) เป็นตัวละครสมมติและสัญลักษณ์ในนวนิยายแนวดิสโทเปียของจอร์จ ออร์เวลล์ เรื่อง หนึ่ง-เก้า-แปด-สี่ พี่เยิ้มเป็นผู้นำขี้โม้ของโอชีอาเนีย รัฐเผด็จการเบ็ดเสร็จ

ในวัฒนธรรมสมัยใหม่ คำว่า "บิ๊กบราเตอร์" เป็นเล็กซิคอนสำหรับเรียกการใช้อำนาจโดยมิชอบของรัฐบาล โดยเฉพาะการละเมิดซึ่งเสรีภาพประชาชน และมักเกี่ยวข้องกับการตรวจตราประชาชน

ดักลาส เคลเนอร์ อาจารย์ของมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียลอสแอนเจลิสเคยตั้งข้อสงสัยว่าพี่เบิ่มนั้นได้รูปแบบมาจากจอเซฟ สตาลิน เพื่อแทนคอมมิวนิสต์และลัทธิสตาลิน, รวมถึง อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เพื่อแทนลัทธินาซี[1][2]

อ้างอิง

  1. "Douglas Kellner, George F. Kneller Philosophy of Education Chair, UCLA". ucla.edu. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 July 2011.
  2. "From 1984 to One-Dimensional Man: Critical Reflections on Orwell and Marcuse" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 29 August 2011.