ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มักรูฮ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
 
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
[[หมวดหมู่:คำศัพท์และประโยคภาษาอาหรับในชะรีอะฮ์]]
[[หมวดหมู่:คำศัพท์และประโยคภาษาอาหรับในชะรีอะฮ์]]
[[หมวดหมู่:นิติศาสตร์อิสลาม]]
[[หมวดหมู่:นิติศาสตร์อิสลาม]]
[[หมวดหมู่:คำศัพท์ในศาสนาอิสลาม]]
[[หมวดหมู่:คำศัพท์ศาสนาอิสลาม]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 08:31, 21 กรกฎาคม 2564

ในอภิธานศัพท์ศาสนาอิสลาม สิ่งที่เป็น มักรูฮ์ (อาหรับ: مكروه) คือสิ่งที่ไม่ค่อยชอบหรือเป็นการกระทำที่น่ารังเกียจ (แปลตรงตัวคือ "น่าเกลียดชัง" หรือ "น่ารังเกียจ"[1]) เป็นหนึ่งในห้าประเภท (อัลอะฮ์กามุลค็อมซะฮ์) ในกฎหมายอิสลาม – วาญิบ/ฟัรฎ์ (บังคับ), มุสตะฮับบ์/มันดูบ (แนะนำ), มุบาฮ์ (กลาง), มักรูฮ์ (ไม่ยอมรับ), ฮะรอม (ต้องห้าม)[2] ถึงแม้ว่าการกระทำที่ มักรูฮ์ ไม่ได้เป็น ฮะรอม (ต้องห้าม) หรือต้องถูกลงโทษ บุคคลที่เลี่ยงจากสิ่งนี้จะได้รับผลบุญ[1]

ตัวอย่าง[แก้]

ตัวอย่างของสิ่งที่ถือว่าเป็น มักรูฮ์ ได้แก่ การใช้น้ำในการอาบน้ำละหมาดอย่างฟุ่มเฟือยที่รู้จักกันในชื่อว่า วุฎูอ์ และ ฆุสล์ การบริโภคกระเทียมก่อนไปมัสยิดหรือพบปะกับผู้คน[1] และการหย่า[3]

ตัวอย่างอาหารที่ถือเป็น มักรูฮ์ ของมุสลิมมัซฮับฮะนาฟีคือกุ้ง[4] อย่างไรก็ตาม ในการแบ่งปันทัศนคติของมัซฮับฮะนะฟีเกี่ยวกับกุ้งว่าเป็นสัตว์น้ำ และถือว่าเป็นฮะลาลหรือไม่ ฮะนะฟีเชื่อว่าคุณควรเลี่ยงมันและหาอย่างอื่นกินถ้าเป็นไปได้[5]

อีกตัวอย่างของ มักรูฮ์ ในศาสนาอิสลาม ได้แก่การพูดคำหยาบ, พูดขณะเอาน้ำละหมาด และพูดคุยหลังอีชา[6]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 al-Dīn, Mūʼil Yūsuf ʻIzz. Islamic Law: From Historical Foundations to Contemporary Practice. Edinburgh University Press. p. 98. สืบค้นเมื่อ July 8, 2014.
  2. Campo, Juan Eduardo. Encyclopedia of Islam. infobase. p. 284. สืบค้นเมื่อ July 8, 2014.
  3. Sonbol, Amira El Azhary (บ.ก.). Women, the Family, and Divorce Laws in Islamic History. Syracuse University Press. p. 265. สืบค้นเมื่อ July 8, 2014.
  4. ได้ถูกอนุมัติแก่พวกเจ้า ซึ่งสัตว์ล่าในทะเล และอาหารจากทะเล ทั้งนี้เพื่อเป็นสิ่งอำนวยประโยชน์แก่พวกเจ้า และแก่บรรดาผู้เดินทาง ….[5:96]..
  5. Ruling on Shrimp, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-12-02
  6. Ahmad, Yusuf. Islamic Medicine. Darussalam Publishers.