ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอมะนัง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ekströmz (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ekströmz (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20: บรรทัด 20:


== ที่ตั้งและอาณาเขต ==
== ที่ตั้งและอาณาเขต ==
[[ไฟล์:คลองลำโลน อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล.jpg|280x280px|thumb|คลองลำโลน อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล เป็นคลองสายหลักที่สำคัญ
อำเภอมะนังตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้
]]อำเภอมะนังตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้
* '''ทิศเหนือ''' ติดต่อกับ[[อำเภอทุ่งหว้า]]
* '''ทิศเหนือ''' ติดต่อกับ[[อำเภอทุ่งหว้า]]
* '''ทิศตะวันออก''' ติดต่อกับ[[อำเภอควนกาหลง]]
* '''ทิศตะวันออก''' ติดต่อกับ[[อำเภอควนกาหลง]]
บรรทัด 32: บรรทัด 33:
ท้องที่อำเภอมะนังเดิมเป็นส่วนหนึ่งของตำบลแป-ระ [[อำเภอควนกาหลง]] ในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2513 มีประกาศ[[กระทรวงมหาดไทย]]ให้แยกบางหมู่บ้านออกมาจากการปกครองของตำบลแป-ระ รวมตั้งเป็นตำบลนิคมพัฒนา<ref>{{cite journal|date=October 6, 1970|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลในท้องที่กิ่งอำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2513/D/092/2884.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=87|issue=92 ง|pages=2884-2889}}</ref> และในวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2526 มีประกาศ[[กระทรวงมหาดไทย]]ให้แยกบางหมู่บ้านออกมาจากการปกครองของตำบลนิคมพัฒนา รวมตั้งเป็นตำบลปาล์มพัฒนา<ref>{{cite journal|date=August 6, 1983|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลในท้องที่อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2526/D/129/2543.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=100|issue=129 ง|pages=2543-2544}}</ref>
ท้องที่อำเภอมะนังเดิมเป็นส่วนหนึ่งของตำบลแป-ระ [[อำเภอควนกาหลง]] ในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2513 มีประกาศ[[กระทรวงมหาดไทย]]ให้แยกบางหมู่บ้านออกมาจากการปกครองของตำบลแป-ระ รวมตั้งเป็นตำบลนิคมพัฒนา<ref>{{cite journal|date=October 6, 1970|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลในท้องที่กิ่งอำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2513/D/092/2884.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=87|issue=92 ง|pages=2884-2889}}</ref> และในวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2526 มีประกาศ[[กระทรวงมหาดไทย]]ให้แยกบางหมู่บ้านออกมาจากการปกครองของตำบลนิคมพัฒนา รวมตั้งเป็นตำบลปาล์มพัฒนา<ref>{{cite journal|date=August 6, 1983|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลในท้องที่อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2526/D/129/2543.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=100|issue=129 ง|pages=2543-2544}}</ref>


ต่อมาได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทยลงวันที่ [[26 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2539]] ทางราชการได้แบ่งพื้นที่การปกครองตำบลปาล์มพัฒนา และตำบลนิคมพัฒนา [[อำเภอควนกาหลง]] ออกมาตั้งเป็น '''กิ่งอำเภอมะนัง'''โดยมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ [[15 กรกฎาคม]] ปีเดียวกัน<ref>{{cite journal|date=June 26, 1996|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง แบ่งเขตท้องที่อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล ตั้งเป็นกิ่งอำเภอมะนัง|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2539/E/018/34.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=113|issue=พิเศษ 18 ง|pages=34}}</ref> และต่อมาได้มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะขึ้นเป็น '''อำเภอมะนัง''' ในวันที่ [[24 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2550]] มีผลบังคับตั้งแต่วันที่ [[8 กันยายน]] ปีเดียวกัน<ref>{{cite journal|date=August 24, 2007|title=พระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอฆ้องชัย...และอำเภอเหล่าเสือโก้ก พ.ศ. ๒๕๕๐|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2550/A/046/14.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=124|issue=46 ก|pages=14-21}}</ref>[[ไฟล์:คลองลำโลน อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล.jpg|280x280px|thumb|คลองลำโลน อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล เป็นคลองสายหลักที่สำคัญ
ต่อมาได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทยลงวันที่ [[26 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2539]] ทางราชการได้แบ่งพื้นที่การปกครองตำบลปาล์มพัฒนา และตำบลนิคมพัฒนา [[อำเภอควนกาหลง]] ออกมาตั้งเป็น '''กิ่งอำเภอมะนัง'''โดยมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ [[15 กรกฎาคม]] ปีเดียวกัน<ref>{{cite journal|date=June 26, 1996|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง แบ่งเขตท้องที่อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล ตั้งเป็นกิ่งอำเภอมะนัง|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2539/E/018/34.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=113|issue=พิเศษ 18 ง|pages=34}}</ref> และต่อมาได้มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะขึ้นเป็น '''อำเภอมะนัง''' ในวันที่ [[24 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2550]] มีผลบังคับตั้งแต่วันที่ [[8 กันยายน]] ปีเดียวกัน<ref>{{cite journal|date=August 24, 2007|title=พระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอฆ้องชัย...และอำเภอเหล่าเสือโก้ก พ.ศ. ๒๕๕๐|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2550/A/046/14.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=124|issue=46 ก|pages=14-21}}</ref>
]]

== การแบ่งเขตการปกครอง ==
== การแบ่งเขตการปกครอง ==
=== การปกครองส่วนภูมิภาค ===
=== การปกครองส่วนภูมิภาค ===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:35, 19 กรกฎาคม 2564

อำเภอมะนัง
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันAmphoe Manang
คำขวัญ: 
ยาง ปาล์มป่า ดารดาษ
ราษฎร์รักสามัคคี ถิ่นนี้มะนัง
แผนที่จังหวัดสตูล เน้นอำเภอมะนัง
แผนที่จังหวัดสตูล เน้นอำเภอมะนัง
พิกัด: 7°0′0″N 99°55′18″E / 7.00000°N 99.92167°E / 7.00000; 99.92167
ประเทศ ไทย
จังหวัดสตูล
พื้นที่
 • ทั้งหมด207.8 ตร.กม. (80.2 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2563)
 • ทั้งหมด18,509 คน
 • ความหนาแน่น89.07 คน/ตร.กม. (230.7 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 91130
รหัสภูมิศาสตร์9107
ที่ตั้งที่ว่าการที่ว่าการอำเภอมะนัง หมู่ที่ 1 ตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล 91130
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

อำเภอมะนัง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสตูล

ที่ตั้งและอาณาเขต

คลองลำโลน อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล เป็นคลองสายหลักที่สำคัญ

อำเภอมะนังตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้

ที่มาของชื่ออำเภอ

ชื่ออำเภอมะนังมาจากคำว่า "ม้ายัง" ม้าหรือรูปม้า ทั้งนี้เนื่องมาจากในท้องถิ่นของอำเภอ มีถ้ำอยู่ถ้ำหนึ่ง ชื่อ ถ้ำระฆังทอง ภายในถ้ำมีรูปปั้นม้าหินอยู่ 1 ตัว เป็นที่รู้จักกันทั่วไปในหมู่บ้านเป็นสัญลักษณ์ในการเดินทางนัดหมาย ต่อมาเพี้ยนมาเป็น "มะนัง"

ประวัติ

ท้องที่อำเภอมะนังเดิมเป็นส่วนหนึ่งของตำบลแป-ระ อำเภอควนกาหลง ในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2513 มีประกาศกระทรวงมหาดไทยให้แยกบางหมู่บ้านออกมาจากการปกครองของตำบลแป-ระ รวมตั้งเป็นตำบลนิคมพัฒนา[1] และในวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2526 มีประกาศกระทรวงมหาดไทยให้แยกบางหมู่บ้านออกมาจากการปกครองของตำบลนิคมพัฒนา รวมตั้งเป็นตำบลปาล์มพัฒนา[2]

ต่อมาได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทยลงวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2539 ทางราชการได้แบ่งพื้นที่การปกครองตำบลปาล์มพัฒนา และตำบลนิคมพัฒนา อำเภอควนกาหลง ออกมาตั้งเป็น กิ่งอำเภอมะนังโดยมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 15 กรกฎาคม ปีเดียวกัน[3] และต่อมาได้มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะขึ้นเป็น อำเภอมะนัง ในวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2550 มีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 กันยายน ปีเดียวกัน[4]

การแบ่งเขตการปกครอง

การปกครองส่วนภูมิภาค

อำเภอมะนังแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 2 ตำบล 19 หมู่บ้าน ได้แก่

1. ปาล์มพัฒนา (Palm Phatthana) 10 หมู่บ้าน
2. นิคมพัฒนา (Nikhom Phatthana) 9 หมู่บ้าน

การปกครองส่วนท้องถิ่น

ท้องที่อำเภอมะนังประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2 แห่ง ได้แก่

  • องค์การบริหารส่วนตำบลปาล์มพัฒนา ครอบคลุมพื้นที่ตำบลปาล์มพัฒนาทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลนิคมพัฒนา ครอบคลุมพื้นที่ตำบลนิคมพัฒนาทั้งตำบล

อ้างอิง

  1. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลในท้องที่กิ่งอำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 87 (92 ง): 2884–2889. October 6, 1970.
  2. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลในท้องที่อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 100 (129 ง): 2543–2544. August 6, 1983.
  3. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง แบ่งเขตท้องที่อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล ตั้งเป็นกิ่งอำเภอมะนัง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 113 (พิเศษ 18 ง): 34. June 26, 1996.
  4. "พระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอฆ้องชัย...และอำเภอเหล่าเสือโก้ก พ.ศ. ๒๕๕๐" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 124 (46 ก): 14–21. August 24, 2007.