ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พโยม จุลานนท์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Somsak Ung (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
| birth_date = {{วันเกิด|2452|3|12}}
| birth_date = {{วันเกิด|2452|3|12}}
| birth_place = <!-- สถานที่เกิด ใส่ชื่อจังหวัดใน [[วงเล็บ]] -->
| birth_place = <!-- สถานที่เกิด ใส่ชื่อจังหวัดใน [[วงเล็บ]] -->
| death_date = {{วันตาย-อายุ|2523|09|7|2452|03|12}}<ref>{{cite news |title=พ.ท.พโยม จุลานนท์ “สหายคำตัน” ตำนานผู้กล้าเลือดเมืองเพชร |url=http://petchpoom.com/%E0%B8%9E-%E0%B8%97-%E0%B8%9E%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%A1-%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B9%8C-%E0%B8%AA%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%B3/}}</ref>
| death_date = {{วันตาย-อายุ|2523|09|7|2452|03|12}}<ref>{{cite news |title=พ.ท.พโยม จุลานนท์ “สหายคำตัน” ตำนานผู้กล้าเลือดเมืองเพชร |url=petchpoom.com/--พโยม-จุลานนท์-สหายคำ/}}</ref>
| death_place = <!-- สถานที่เสียชีวิต ใส่ชื่อจังหวัดใน [[วงเล็บ]] -->
| death_place = <!-- สถานที่เสียชีวิต ใส่ชื่อจังหวัดใน [[วงเล็บ]] -->
| nationality = <!-- ใส่ชื่อประเทศที่ถือสัญชาติใน [[วงเล็บ]] -->
| nationality = <!-- ใส่ชื่อประเทศที่ถือสัญชาติใน [[วงเล็บ]] -->

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:18, 17 กรกฎาคม 2564


พโยม จุลานนท์
เกิด12 มีนาคม พ.ศ. 2452
เสียชีวิต7 กันยายน พ.ศ. 2523 (71 ปี)[1]

พันโท พโยม จุลานนท์ เป็นทหาร, นักการเมือง, หัวหน้าพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย สมรสกับสมโภช ท่าราบ มีบุตร 3 คน คือ นางอัมพร ทีขะระ, พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ ประธานองคมนตรี และนภาวดี ศิริภักดี[2]

พโยมเป็นบุตรของพระยาวิเศษสิงหนาท (ยิ่ง จุลานนท์) แห่งเมืองเพชรบุรี ต้นตระกูลจุลานนท์ กับคุณหญิงเก่ง วิเศษสิงหนาท อีกทั้งยังเป็นบุตรเขยของพระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ) พโยมกลายเป็นพันธมิตรของจอมพล แปลก พิบูลสงคราม ในคราวรัฐประหารพลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์และปรีดี พนมยงค์ ในปี 2490 หลังจากนั้นพโยมก็ไม่เห็นด้วยกับหัวหน้าคณะรัฐประหารและเริ่มปฏิวัติล้มเหลว พโยมจึงต้องลี้ภัยไปยังประเทศจีน ผ่านทางอำเภอแม่สาย และประเทศพม่า[3]

พโยมกลับมาประเทศไทยอีกครั้งในปี พ.ศ. 2500 เพื่อลงเลือกตั้งทั่วไปในเดือนมีนาคม และได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี ในปีเดียวกันจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ รัฐประหารรัฐบาลจอมพล ป. พโยมก็ได้ลาครอบครัวไปปฏิบัติการใต้ดิน โดยใช้ชื่อ สหายตู้คำตัน ภายหลังจากการเข้าร่วมเป็นสมาชิกคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย พโยมได้รับการแต่งตั้งเป็นเสนาธิการกองทัพปลดแอกประชาชนไทย[4]

ภายหลังการหลบซ่อนตัวและสงครามซ่องโจรเป็นระยะเวลาเกือบทศวรรษ พโยมเป็นโรคหัวใจล้มเหลว ต้องนำตัวไปรักษาตัวที่ปักกิ่งในปี พ.ศ. 2521 และได้เสียชีวิตในเวลาต่อมา[5]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. [petchpoom.com/พ-ท-พโยม-จุลานนท์-สหายคำ/ "พ.ท.พโยม จุลานนท์ "สหายคำตัน" ตำนานผู้กล้าเลือดเมืองเพชร"]. {{cite news}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  2. https://www.nacc.go.th/download_acc/asset_report/minCout1.1.pdf
  3. http://www.reurnthai.com/index.php?topic=3597.0
  4. https://www.gotoknow.org/posts/75179
  5. http://www.gunsandgames.com/smf/index.php?topic=94604.10;wap2
  6. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เล่ม ๕๙ ตอน ๖๑ ง หน้า ๒๑๑๘, ๑๘ กันยายน ๒๔๘๕
  7. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เล่ม ๕๘ ตอน ๐ ง, หน้า ๒๙๘๐, ๑๘ กันยายน ๒๔๘๔
  8. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความ เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ เล่ม ๕๑ ตอน ๐ ง หน้า ๒๒๔๙, ๗ ตุลาคม ๒๔๗๗
  9. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๕๘ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๑๐๔๕, ๒ พฤษภาคม ๒๔๘๔
  10. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา เล่ม ๖๑ ตอน ๖๐ ง หน้า ๑๘๕๔, ๒๖ กันยายน ๒๔๘๗

แหล่งข้อมูลอื่น

  • (ไทย) Nation Weekender, 'สหายคำตัน' คนดีในหัวใจ พล.อ.สุรยุทธ์ ('Comrade Khamtan', A Good Man in the Heart of General Surayud), 9 December 2005