ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Melissamk (คุย | ส่วนร่วม)
แก้คำผิดจาก นโบาย เป็น นโยบาย
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
KungDekZa (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ลบป้ายขาดความสำคัญ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ใคร|date=สิงหาคม 2019}}
{{กล่องข้อมูล ผู้ดำรงตำแหน่ง
{{กล่องข้อมูล ผู้ดำรงตำแหน่ง
| birth_date = {{วันเกิดและอายุ|2521|2|3}}
| birth_date = {{วันเกิดและอายุ|2521|2|3}}
บรรทัด 16: บรรทัด 15:
}}
}}


'''สุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิ'''<ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร [https://hris.parliament.go.th/ss_detail.php?sapa_id=82&ssp_id=21285&lang=th ดร.สุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิ]</ref> ({{ชื่อเล่น|เชษฐ์}}, เกิด 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521) คือนักการเมืองและนักวิชาการชาวไทยโดยเป็นสมาชิก[[สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 25]] แบบบัญชีรายชื่อ<ref>{{cite web |url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/A/062/T_0010.PDF |title= ประกาศคณะกรรมการการเลือกต้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ |date=2019-05-08 |work=ราชกิจจานุเบกษา |publisher= |accessdate=2019-06-11}}</ref> [https://futureforwardparty.org/about-fwp/our-policies/%e0%b8%82%e0%b8%99%e0%b8%aa%e0%b9%88%e0%b8%87%e0%b8%aa%e0%b8%b2%e0%b8%98%e0%b8%b2%e0%b8%a3%e0%b8%93%e0%b8%b0%e0%b9%80%e0%b8%9e%e0%b8%b7%e0%b9%88%e0%b8%ad%e0%b8%97%e0%b8%b8%e0%b8%81%e0%b8%84%e0%b8%99 ให้คำปรึกษานโยบายด้านคมนาคม]<ref>นโยบายขนส่งสาธารณะเพื่อทุกคน</ref>ของอดีต[[พรรคอนาคตใหม่]] และเคยเป็นอาจารย์ที่[[สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย]]โดยมีประสบการณ์ในการทำงานที่มีความเชี่ยวชาญเป็นพิเศษทางด้าน[[การคมนาคม]]<ref>[https://voicetv.co.th/watch/2uUieppWN The Daily Dose - สัมภาษณ์ ดร.สุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิ แห่งพรรคอนาคตใหม่ - FULL EP]</ref> หลังพรรคอนาคตใหม่ถูกยุบ สุรเชษฐ์ย้ายไปสังกัด[[พรรคก้าวไกล]]
'''สุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิ'''<ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร [https://hris.parliament.go.th/ss_detail.php?sapa_id=82&ssp_id=21285&lang=th ดร.สุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิ]</ref> ({{ชื่อเล่น|เชษฐ์}}, เกิด 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521) คือนักการเมืองและนักวิชาการชาวไทยโดยเป็นสมาชิก[[สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 25]] แบบบัญชีรายชื่อ [[พรรคก้าวไกล]]<ref>{{cite web |url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/A/062/T_0010.PDF |title= ประกาศคณะกรรมการการเลือกต้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ |date=2019-05-08 |work=ราชกิจจานุเบกษา |publisher= |accessdate=2019-06-11}}</ref> [https://futureforwardparty.org/about-fwp/our-policies/%e0%b8%82%e0%b8%99%e0%b8%aa%e0%b9%88%e0%b8%87%e0%b8%aa%e0%b8%b2%e0%b8%98%e0%b8%b2%e0%b8%a3%e0%b8%93%e0%b8%b0%e0%b9%80%e0%b8%9e%e0%b8%b7%e0%b9%88%e0%b8%ad%e0%b8%97%e0%b8%b8%e0%b8%81%e0%b8%84%e0%b8%99 ให้คำปรึกษานโยบายด้านคมนาคม]<ref>นโยบายขนส่งสาธารณะเพื่อทุกคน</ref>ของอดีต[[พรรคอนาคตใหม่]] และเคยเป็นอาจารย์ที่[[สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย]]โดยมีประสบการณ์ในการทำงานที่มีความเชี่ยวชาญเป็นพิเศษทางด้าน[[การคมนาคม]]<ref>[https://voicetv.co.th/watch/2uUieppWN The Daily Dose - สัมภาษณ์ ดร.สุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิ แห่งพรรคอนาคตใหม่ - FULL EP]</ref> หลังพรรคอนาคตใหม่ถูกยุบ สุรเชษฐ์ย้ายไปสังกัด[[พรรคก้าวไกล]] โดยดำรงตำแหน่งเป็นรองเลขาธิการพรรค


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
สุรเชษฐ์สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีด้านวิศวกรรมโยธาจาก[[คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]ใน พ.ศ. 2542 แล้วเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาโท ด้านการวางแผนและบริหารจัดการ[[โครงสร้างพื้นฐาน]]จาก[[สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย]] ซึ่งสำเร็จการศึกษาใน พ.ศ. 2544 แล้วเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกด้าน[[วิศวกรรมขนส่ง]]และจราจรที่[[มหาวิทยาลัยรัฐยูทาห์]] [[ประเทศสหรัฐ]]
สุรเชษฐ์สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีด้านวิศวกรรมโยธาจาก[[คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]ใน พ.ศ. 2542 แล้วเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาโท ด้านการวางแผนและบริหารจัดการ[[โครงสร้างพื้นฐาน]]จาก[[สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย]] ซึ่งสำเร็จการศึกษาใน พ.ศ. 2544 แล้วเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกด้าน[[วิศวกรรมขนส่ง]]และจราจรที่[[มหาวิทยาลัยรัฐยูทาห์]] [[ประเทศสหรัฐ]] โดยจบการศึกษาด้วยผลการเรียนเฉลี่ย 4.00<ref>[https://hris.parliament.go.th/ss_detail.php?sapa_id=82&ssp_id=21285&lang=th นายสุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิ] จากเว็บไซต์รัฐสภาไทย</ref>


สุรเชษฐ์เคยเป็นนักวิจัยและอาจารย์พิเศษในมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยหลายแห่ง อาทิ ประเทศไทย ประเทศ[[นอร์เวย์]] และ [[ประเทศสหรัฐอเมริกา]] เป็นต้น อีกทั้งยังเคยได้รับตำแหน่ง ประธาน เลขานุการและกรรมการโครงการหรือคณะทำงาน มากกว่า 20 คณะ ทั้งในลักษณะของการจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจการจ้าง หรือการทำงานเพื่อให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด โดยจากประสบการณ์การลงมือทำงานจริงที่มีความหลากหลายในภาคปฏิบัติ ส่งผลให้ ดร.สุรเชษฐ์ ได้รับเลือกให้มาเป็นอาจารย์ประจำที่[[สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย]] โดยดำรงตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมขนส่ง สำนักวิชาวิศวกรรมและเทคโนโลยี [[สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย]]
สุรเชษฐ์เคยเป็นนักวิจัยและอาจารย์พิเศษในมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยหลายแห่ง อาทิ ประเทศไทย [[ประเทศนอร์เวย์]] และ [[ประเทศสหรัฐอเมริกา]] เป็นต้น อีกทั้งยังเคยได้รับตำแหน่ง ประธาน เลขานุการและกรรมการโครงการหรือคณะทำงาน มากกว่า 20 คณะ ทั้งในลักษณะของการจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจการจ้าง หรือการทำงานเพื่อให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด โดยจากประสบการณ์การลงมือทำงานจริงที่มีความหลากหลายในภาคปฏิบัติ รวมถึงการทำงานในตำแหน่งหัวหน้าแผนกวิจัยและพัฒนาระบบจราจร [[การทางพิเศษแห่งประเทศไทย]] ส่งผลให้ ดร.สุรเชษฐ์ ได้รับเลือกให้มาเป็นอาจารย์ประจำที่[[สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย]] โดยดำรงตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมขนส่ง สำนักวิชาวิศวกรรมและเทคโนโลยี [[สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย]] และเคยได้รับรางวัลอาจารย์ดีเด่น<ref>[https://hris.parliament.go.th/ss_detail.php?sapa_id=82&ssp_id=21285&lang=th นายสุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิ] จากเว็บไซต์รัฐสภาไทย</ref>


เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2561 ดร.สุรเชษฐ์ ได้ลาออกจาก [[สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย]] (Asian Institute of Technology : AIT) เพื่อตัดสินใจเข้าร่วมงานกับ [[ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ]] และผู้ที่มีความคิดเห็นแนวทางทางการเมืองอีกจำนวนมาก เพื่อลุกขึ้นสู้ด้วยประณิธานที่แรงกล้า โดยพลักดันนโยบายที่ดีต่อประชาชนและประเทศชาติในภาพรวมอย่างแท้จริง ภายใต้ พรรคการเมืองชื่อ [[พรรคอนาคตใหม่]] พรรคการเมืองแห่งความหวัง ที่จะสร้างสรรค์ประเทศไทยที่มีอนาคตอยู่เคึยงคู่กับประชาชน
เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2561 ดร.สุรเชษฐ์ ได้ลาออกจาก [[สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย]] (Asian Institute of Technology : AIT) เพื่อตัดสินใจเข้าร่วมงานกับ [[ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ]] และผู้ที่มีความคิดเห็นแนวทางทางการเมืองอีกจำนวนมาก เพื่อลุกขึ้นสู้ด้วยประณิธานที่แรงกล้า โดยพลักดันนโยบายที่ดีต่อประชาชนและประเทศชาติในภาพรวมอย่างแท้จริง ภายใต้ พรรคการเมืองชื่อ [[พรรคอนาคตใหม่]] พรรคการเมืองแห่งความหวัง ที่จะสร้างสรรค์ประเทศไทยที่มีอนาคตอยู่เคึยงคู่กับประชาชน และเมื่อพรรคถูกยุบได้ย้ายไปสังกัด[[พรรคก้าวไกล]] โดยดำรงตำแหน่งรองเลขาธิการพรรค<ref>[https://www.thairath.co.th/news/politic/1794813 “พิธา” นำทีม ส.ส. ตบเท้าสมัครพรรคก้าวไกล “คารม” ย้ำ กลับมาเพราะบุญคุณ]</ref><ref>[https://workpointtoday.com/02-51/ ทิม พิธา นั่งหัวหน้าพรรคก้าวไกลสานต่ออุดมการณ์อนาคตใหม่]</ref>


== การทำงาน ==
== การทำงาน ==
* หัวหน้าแผนกวิจัยและพัฒนาระบบจราจร [[การทางพิเศษแห่งประเทศไทย]]
* รองประธานคณะกรรมาธิการการคมนาคม รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ คณะอนุกรรมาธิการเพื่อพิจารณาศึกษาความปลอดภัยทางถนนและคมนาคม
* ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด้านวิศวกรรมจราจรและขนส่ง [[สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย]] (AIT)
* รองประธานคณะกรรมาธิการ คณะกรรมาธิการศึกษาการจัดทำและติดตามการบริหารงบประมาณ สภาผู้แทนราษฎร
* สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ [[พรรคอนาคตใหม่]] (ถัดมาเป็น[[พรรคก้าวไกล]])
* รองประธานคณะกรรมาธิการการคมนาคม
* รองประธานคณะอนุกรรมาธิการเพื่อพิจารณาศึกษาความปลอดภัยทางถนนและคมนาคม
* รองประธานคณะกรรมาธิการศึกษาการจัดทำและติดตามการบริหารงบประมาณ สภาผู้แทนราษฎร
* คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขยายสัญญาสัมปทานทางด่วนและ[[รถไฟฟ้าบีทีเอส|รถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS)]] สภาผู้แทนราษฎร (ตั้งแต่ เดือนกรกฎาคม ถึง สิงหาคม พ.ศ. 2562)
* คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขยายสัญญาสัมปทานทางด่วนและ[[รถไฟฟ้าบีทีเอส|รถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS)]] สภาผู้แทนราษฎร (ตั้งแต่ เดือนกรกฎาคม ถึง สิงหาคม พ.ศ. 2562)
* รองประธานคณะกรรมาธิการ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 [[งบประมาณแผ่นดินของไทย พ.ศ. 2563]]<ref>งบประมาณแผ่นดินของไทย พ.ศ. 2563</ref>สภาผู้แทนราษฎร (ตั้งแต่ เดือนตุลาคม ถึง ธันวาคม พ.ศ. 2562)
* รองประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 [[งบประมาณแผ่นดินของไทย พ.ศ. 2563]]<ref>งบประมาณแผ่นดินของไทย พ.ศ. 2563</ref>สภาผู้แทนราษฎร (ตั้งแต่ เดือนตุลาคม ถึง ธันวาคม พ.ศ. 2562)
* ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการ คณะอนุกรรมาธิการครุภัณฑ์ ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง และรัฐวิสาหกิจ สภาผู้แทนราษฎร (ตั้งแต่ เดือนพฤศจิกายน ถึง ธันวาคม พ.ศ. 2562)
* ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการครุภัณฑ์ ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง และรัฐวิสาหกิจ สภาผู้แทนราษฎร (ตั้งแต่ เดือนพฤศจิกายน ถึง ธันวาคม พ.ศ. 2562)
* รองประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาติดตาม ตรวจสอบ การใช้เงินตามพระราชกำหนด 3 ฉบับ เพื่อแก้ไขปัญหา เยียวยาและฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม ที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
* รองประธานคณะกรรมาธิการศึกษาการจัดทำและติดตามการบริหารงบประมาณ
* ประธานคณะอนุกรรมาธิการศึกษาการจัดทำและติดตามการบริหารงบประมาณโครงการโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่


== การแถลงนโนบาย ==
== การแถลงนโนบาย ==
บรรทัด 52: บรรทัด 58:
# รัฐบาลได้มีความเร่งรีบผิดปกติ โดยปกติแล้วจะได้มีการนัดประชุมบอร์ดเดือนละครั้ง แต่กลับมีการประชุมพิเศษ (ลับ) เสมือนมีคำสั่งรีบเร่งให้แล้วเสร็จโดยเร็วที่สุด
# รัฐบาลได้มีความเร่งรีบผิดปกติ โดยปกติแล้วจะได้มีการนัดประชุมบอร์ดเดือนละครั้ง แต่กลับมีการประชุมพิเศษ (ลับ) เสมือนมีคำสั่งรีบเร่งให้แล้วเสร็จโดยเร็วที่สุด
# สัญญาฉบับร่าง ได้ทำการร่างจากทางบริษัท โดยปกติแล้วโครงการที่มีขนาดใหญ่จำต้องมีคณะกรรมการการทางพิเศษร่เป็นผู้ร่าง ซึ่งการให้บริษัทเป็นผู้ร่างส่งผลกระทบต่องบประมาณทางการเงินจำนวนมาก
# สัญญาฉบับร่าง ได้ทำการร่างจากทางบริษัท โดยปกติแล้วโครงการที่มีขนาดใหญ่จำต้องมีคณะกรรมการการทางพิเศษร่เป็นผู้ร่าง ซึ่งการให้บริษัทเป็นผู้ร่างส่งผลกระทบต่องบประมาณทางการเงินจำนวนมาก
# หากพิจารณษจาก คำสั่ง นายกฯที่ 10/2562 ที่มีเนื้อหาสาระสำคัญเกี่ยวกับการปลดผู้ว่าการทางพิเศษแห่งประเทศไทยนั้น สันนิษฐานได้ว่า ผู้ว่าฯการทางพิเศษต้องการทำงานอย่างรอบคอบ ซึ่งเคยมีการเสนอตั้งพิจารณาหลายด้าน อย่างไรก็ตาม หากสัญญาสัมปทานเหล่านี้สำเร็จรัฐบาลจะสามารถขยายเวลาสัมปทานทางด่วนออกไปอีก 30 ปี ซึ่งสามารถคิดมูลค่าความเสียหายได้ถึง 4.3 แสนล้านบาท
# หากพิจารณษจาก คำสั่ง นายกฯที่ 10/2562 ที่มีเนื้อหาสาระสำคัญเกี่ยวกับการปลดผู้ว่าการทางพิเศษแห่งประเทศไทยนั้น สันนิษฐานได้ว่า ผู้ว่าฯการทางพิเศษต้องการทำงานอย่างรอบคอบ ซึ่งเคยมีการเสนอตั้งพิจารณาหลายด้าน อย่างไรก็ตาม หากสัญญาสัมปทานเหล่านี้สำเร็จรัฐบาลจะสามารถขยายเวลาสัมปทานทางด่วนออกไปอีก 30 ปี ซึ่งสามารถคิดมูลค่าความเสียหายได้ถึง 4.3 แสนล้านบาท<ref>[https://www.thaipost.net/main/detail/57097 เอาแล้ว!เขย่าสัมปทานทางด่วน แฉพิรุธผู้ว่าการทางพิเศษฯชิงลาออกไล่เลี่ยกันถึง 2 คน]</ref>


กรรมาธิการที่ได้มีการขอสงวนความเห็นทำการอภิปรายในเรื่องของการพิจารณารถไฟฟ้าบีทีเอส ได้มีความคิดเห็นตรงกับเสียงข้างมากกล่าวคือไม่ควรขยายสัญญาสัปทาน ขณะที่ในการสงวนความคิดเห็นเรื่องของการต่ออายุสัปทานทางด่วนอีก 30 ปีนั้น สุรเชษฐ์ได้อยู่ฝ่ายกรรมาธิการเสียงข้างน้อย ให้ความเห็นว่าไม่ควรขยายสัญญาสัปทานเช่นกัน
กรรมาธิการที่ได้มีการขอสงวนความเห็นทำการอภิปรายในเรื่องของการพิจารณารถไฟฟ้าบีทีเอส ได้มีความคิดเห็นตรงกับเสียงข้างมากกล่าวคือไม่ควรขยายสัญญาสัปทาน ขณะที่ในการสงวนความคิดเห็นเรื่องของการต่ออายุสัปทานทางด่วนอีก 30 ปีนั้น สุรเชษฐ์ได้อยู่ฝ่ายกรรมาธิการเสียงข้างน้อย ให้ความเห็นว่าไม่ควรขยายสัญญาสัปทานเช่นกัน
บรรทัด 61: บรรทัด 67:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* {{Facebook|spravinvongvuth.FWP}}
* {{Facebook|spravinvongvuth.FWP}}
* [https://hris.parliament.go.th/ss_detail.php?sapa_id=82&ssp_id=21285&lang=th นายสุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิ] จากเว็บไซต์[[รัฐสภาไทย]]
* [https://scholar.google.com/citations?user=obT_McIAAAAJ&hl=en Surachet Pravinvongvuth] จาก Google Scholar
* [https://set.ait.ac.th/faculty/surachet-pravinvongvuth/ Surachet Pravinvongvuth] จากเว็บไซต์สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย


{{เกิดปี|2521}}
{{เกิดปี|2521}}
บรรทัด 73: บรรทัด 82:
[[หมวดหมู่:นิสิตเก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
[[หมวดหมู่:นิสิตเก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย]]

{{โครงชีวประวัติ}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:25, 11 กรกฎาคม 2564

สุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิ
เริ่มดำรงตำแหน่ง
27 พฤษภาคม 2561
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521 (46 ปี)
กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
พรรคการเมืองพรรคอนาคตใหม่ (พ.ศ. 2561-2563) พรรคก้าวไกล (พ.ศ. 2563-ปัจจุบัน)
การศึกษาโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ศิษย์เก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย
มหาวิทยาลัยรัฐยูทาห์
อาชีพ
  • อาจารย์
  • นักการเมือง

สุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิ[1] (ชื่อเล่น เชษฐ์, เกิด 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521) คือนักการเมืองและนักวิชาการชาวไทยโดยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 25 แบบบัญชีรายชื่อ พรรคก้าวไกล[2] ให้คำปรึกษานโยบายด้านคมนาคม[3]ของอดีตพรรคอนาคตใหม่ และเคยเป็นอาจารย์ที่สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียโดยมีประสบการณ์ในการทำงานที่มีความเชี่ยวชาญเป็นพิเศษทางด้านการคมนาคม[4] หลังพรรคอนาคตใหม่ถูกยุบ สุรเชษฐ์ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล โดยดำรงตำแหน่งเป็นรองเลขาธิการพรรค

ประวัติ

สุรเชษฐ์สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีด้านวิศวกรรมโยธาจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยใน พ.ศ. 2542 แล้วเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาโท ด้านการวางแผนและบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานจากสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ซึ่งสำเร็จการศึกษาใน พ.ศ. 2544 แล้วเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกด้านวิศวกรรมขนส่งและจราจรที่มหาวิทยาลัยรัฐยูทาห์ ประเทศสหรัฐ โดยจบการศึกษาด้วยผลการเรียนเฉลี่ย 4.00[5]

สุรเชษฐ์เคยเป็นนักวิจัยและอาจารย์พิเศษในมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยหลายแห่ง อาทิ ประเทศไทย ประเทศนอร์เวย์ และ ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นต้น อีกทั้งยังเคยได้รับตำแหน่ง ประธาน เลขานุการและกรรมการโครงการหรือคณะทำงาน มากกว่า 20 คณะ ทั้งในลักษณะของการจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจการจ้าง หรือการทำงานเพื่อให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด โดยจากประสบการณ์การลงมือทำงานจริงที่มีความหลากหลายในภาคปฏิบัติ รวมถึงการทำงานในตำแหน่งหัวหน้าแผนกวิจัยและพัฒนาระบบจราจร การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ส่งผลให้ ดร.สุรเชษฐ์ ได้รับเลือกให้มาเป็นอาจารย์ประจำที่สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย โดยดำรงตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมขนส่ง สำนักวิชาวิศวกรรมและเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย และเคยได้รับรางวัลอาจารย์ดีเด่น[6]

เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2561 ดร.สุรเชษฐ์ ได้ลาออกจาก สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย (Asian Institute of Technology : AIT) เพื่อตัดสินใจเข้าร่วมงานกับ ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ และผู้ที่มีความคิดเห็นแนวทางทางการเมืองอีกจำนวนมาก เพื่อลุกขึ้นสู้ด้วยประณิธานที่แรงกล้า โดยพลักดันนโยบายที่ดีต่อประชาชนและประเทศชาติในภาพรวมอย่างแท้จริง ภายใต้ พรรคการเมืองชื่อ พรรคอนาคตใหม่ พรรคการเมืองแห่งความหวัง ที่จะสร้างสรรค์ประเทศไทยที่มีอนาคตอยู่เคึยงคู่กับประชาชน และเมื่อพรรคถูกยุบได้ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล โดยดำรงตำแหน่งรองเลขาธิการพรรค[7][8]

การทำงาน

  • หัวหน้าแผนกวิจัยและพัฒนาระบบจราจร การทางพิเศษแห่งประเทศไทย
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด้านวิศวกรรมจราจรและขนส่ง สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT)
  • สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ พรรคอนาคตใหม่ (ถัดมาเป็นพรรคก้าวไกล)
  • รองประธานคณะกรรมาธิการการคมนาคม
  • รองประธานคณะอนุกรรมาธิการเพื่อพิจารณาศึกษาความปลอดภัยทางถนนและคมนาคม
  • รองประธานคณะกรรมาธิการศึกษาการจัดทำและติดตามการบริหารงบประมาณ สภาผู้แทนราษฎร
  • คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขยายสัญญาสัมปทานทางด่วนและรถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS) สภาผู้แทนราษฎร (ตั้งแต่ เดือนกรกฎาคม ถึง สิงหาคม พ.ศ. 2562)
  • รองประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 งบประมาณแผ่นดินของไทย พ.ศ. 2563[9]สภาผู้แทนราษฎร (ตั้งแต่ เดือนตุลาคม ถึง ธันวาคม พ.ศ. 2562)
  • ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการครุภัณฑ์ ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง และรัฐวิสาหกิจ สภาผู้แทนราษฎร (ตั้งแต่ เดือนพฤศจิกายน ถึง ธันวาคม พ.ศ. 2562)
  • รองประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาติดตาม ตรวจสอบ การใช้เงินตามพระราชกำหนด 3 ฉบับ เพื่อแก้ไขปัญหา เยียวยาและฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม ที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
  • รองประธานคณะกรรมาธิการศึกษาการจัดทำและติดตามการบริหารงบประมาณ
  • ประธานคณะอนุกรรมาธิการศึกษาการจัดทำและติดตามการบริหารงบประมาณโครงการโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่

การแถลงนโนบาย

สุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิ ได้แถลงนโยบายของพรรคอนาคตใหม่ (16 ธันวาคม พ.ศ.2562) ได้แก่ นโยบาย "ขนส่งสาธารณะเพื่อทุกคน" เป็นนโยบายที่จะผลักดันให้ภาครัฐ ควรจะนำงบประมาณไปทำการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นกว่าเดิม เพื่อประชาชน มากกว่าการนำงบประมาณด้านคมนาคมส่วนใหญ่ไปทำการสร้าง หรือ ซ่อมถนน โดยไม่คำนึงถึงปัญหาที่จะเกิดขึ้น กล่าวคือ การสร้าง และ ซ่อมถนนจะส่งผลเชิงบังคับให้ประชาชนส่วนใหญ่ซื้อ รถยนต์ ทั้งนี้ การซื้อรถยนต์ถือได้ว่าเป็นการสูญสิ้นต้นทุนทางชีวิตในระดับหนึ่ง (ค่าซ่อมบำรุงหรือค่าประกัน) และ ก่อให้เกิดมลพิษในสังคม ด้วยเหตุนี้ สุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิ และ พรรคอนาคตใหม่ ได้ทำการแจงข้อเสียของปัญหาดังกล่าวดังนี้

  1. การสูญเสียโอกาส เนื่องจากค่าเวลาเฉลี่ยในการเดินทางของประชาชนไทย อยู่ที่ประมาณ 120 บาท / คน / ชั่วโมง
  2. ประเทศไทยเกิดอุบัติเหตุทางถนนมากเป็นอันดับ 9 ของโลก
  3. ประเทศไทยต้องนำเข้าน้ำมันดิบถึง 640,000 ล้านบาท / ปี
  4. การสร้างถนนจำนวนมาก ก่อให้เกิดปัญหาเรื่องการกระจายตัวของเมืองอย่างไร้ทิศทางและขาดประสิทธิภาพ กล่าวคือ เมืองพัฒนาในแนวราบแทนที่จะพัฒนาแนวดิ่ง
  5. ส่งผลให้ประชาชนที่มีรายได้น้อยขาดโอกาสในการเดินทาง เนื่องจากการเดินทางมีต้นทางในการเดินทางที่สูง

นโยบายดังกล่าว จึงมีจุดประสงค์ที่สำคัญในการพัฒนา "ขนส่งสาธารณะเพื่อทุกคน" โดยผลักดันการสร้างระบบขนส่งสาธารณะ ในรูปแบบของ "ระบบราง" เนื่องจากระบบรางเป็นระบบที่มีคุณภาพที่ดี ค่าโดยสารมีความเหมาะสม สามารถเข้าถึงได้ง่าย และที่สำคัญอย่างยิ่ง ระบบรางใช้พลังงานน้อยกว่าระบบขนส่งรูปแบบอื่นถึง 9 เท่า ปล่อยก๊าซเรือนกระจกน้อยกว่า 3 เท่า และใช้พื้นที่น้อยกว่า 20 เท่า โดยการพัฒนาระบบรางจะต้องพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะ ยกตัวอย่างเช่น รถเมล์ระบบไฟฟ้า เรือ ตลอดจนแท็กซี่และมอเตอร์ไซค์รับจ้าง ในทุกหัวเมืองควบคู่กันไปด้วยเพื่อประสิทธิภาพในการขนส่งในลักษณะระบบขนส่งโครงข่ายรองตามความเหมาะสมของแต่ละสภาพพื้นที่

อีกทั้ง การผลักดันระบบขนส่งสาธารณะแบบรางสามารถส่งเสริมเศรษฐกิจของประเทศไทยได้ โดยอุตสาหกรรมรถไฟ สามารถสร้างอาชีพการงานให้แก่ประชาชนได้ 150,000 ตำแหน่ง อีกทั้งสามารถก่อให้เกิดเม็ดเงินหมุนเวียนจำนวน 540,000 ล้านบาท / ปี

บทบาท

สุรเชษฐ์ได้มีบทบาท โดยการอภิปรายความเห็นในฐานะกรรมาธิการหรือสมาชิกผู้แทนราษฎรดังนี้

กรณีขยายสัมปทานสัญญาทางด่วนของรัฐบาล

สุรเชษฐ์ได้อภิปรายในสภาผู้แทนราษฎรว่าได้ตรวจสอบพบความไม่ชอบมาพากลทั้งหมด 3 ประเด็น ได้แก่

  1. รัฐบาลได้มีความเร่งรีบผิดปกติ โดยปกติแล้วจะได้มีการนัดประชุมบอร์ดเดือนละครั้ง แต่กลับมีการประชุมพิเศษ (ลับ) เสมือนมีคำสั่งรีบเร่งให้แล้วเสร็จโดยเร็วที่สุด
  2. สัญญาฉบับร่าง ได้ทำการร่างจากทางบริษัท โดยปกติแล้วโครงการที่มีขนาดใหญ่จำต้องมีคณะกรรมการการทางพิเศษร่เป็นผู้ร่าง ซึ่งการให้บริษัทเป็นผู้ร่างส่งผลกระทบต่องบประมาณทางการเงินจำนวนมาก
  3. หากพิจารณษจาก คำสั่ง นายกฯที่ 10/2562 ที่มีเนื้อหาสาระสำคัญเกี่ยวกับการปลดผู้ว่าการทางพิเศษแห่งประเทศไทยนั้น สันนิษฐานได้ว่า ผู้ว่าฯการทางพิเศษต้องการทำงานอย่างรอบคอบ ซึ่งเคยมีการเสนอตั้งพิจารณาหลายด้าน อย่างไรก็ตาม หากสัญญาสัมปทานเหล่านี้สำเร็จรัฐบาลจะสามารถขยายเวลาสัมปทานทางด่วนออกไปอีก 30 ปี ซึ่งสามารถคิดมูลค่าความเสียหายได้ถึง 4.3 แสนล้านบาท[10]

กรรมาธิการที่ได้มีการขอสงวนความเห็นทำการอภิปรายในเรื่องของการพิจารณารถไฟฟ้าบีทีเอส ได้มีความคิดเห็นตรงกับเสียงข้างมากกล่าวคือไม่ควรขยายสัญญาสัปทาน ขณะที่ในการสงวนความคิดเห็นเรื่องของการต่ออายุสัปทานทางด่วนอีก 30 ปีนั้น สุรเชษฐ์ได้อยู่ฝ่ายกรรมาธิการเสียงข้างน้อย ให้ความเห็นว่าไม่ควรขยายสัญญาสัปทานเช่นกัน

อ้างอิง

  1. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ดร.สุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิ
  2. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกต้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 2019-05-08. สืบค้นเมื่อ 2019-06-11.
  3. นโยบายขนส่งสาธารณะเพื่อทุกคน
  4. The Daily Dose - สัมภาษณ์ ดร.สุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิ แห่งพรรคอนาคตใหม่ - FULL EP
  5. นายสุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิ จากเว็บไซต์รัฐสภาไทย
  6. นายสุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิ จากเว็บไซต์รัฐสภาไทย
  7. “พิธา” นำทีม ส.ส. ตบเท้าสมัครพรรคก้าวไกล “คารม” ย้ำ กลับมาเพราะบุญคุณ
  8. ทิม พิธา นั่งหัวหน้าพรรคก้าวไกลสานต่ออุดมการณ์อนาคตใหม่
  9. งบประมาณแผ่นดินของไทย พ.ศ. 2563
  10. เอาแล้ว!เขย่าสัมปทานทางด่วน แฉพิรุธผู้ว่าการทางพิเศษฯชิงลาออกไล่เลี่ยกันถึง 2 คน

แหล่งข้อมูลอื่น