ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อัตราส่วนกำไรสุทธิ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เก็บกวาด}}
{{เก็บกวาด}}
'''อัตราส่วนกำไรสุทธิ ( Net Profit Margin Ratio)'''
<ref>{{Cite web|title=ห้องเรียนนักลงทุน|url=https://www.set.or.th/set/education/knowledgedetail.do?contentId=5872&type=article|website=www.set.or.th|language=th}}</ref>'''อัตราส่วนกำไรสุทธิ ( Net Profit Margin Ratio)'''


อัตราส่วนกำไรสุทธิ เป็นอัตราส่วนทางการเงินเพื่อดูความสามารถในการทำกำไรของกิจการตัวหนึ่ง เป็นอัตราส่วนที่แสดงว่าความสามารถในการทำกำไรสุทธิของกิจการว่าเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของค่าขาย ถ้าอัตราส่วนกำไรสุทธิสูงดีเนื่องจากแสดงถึงความสามารถในการทำกำไรสุทธิ (กำไรที่ได้จากค่าขายหักด้วยต้นทุนสินค้า ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารตามปกติและค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่ไม่ใช่จากการดำเนินงานตามปกติแล้ว) ของกิจการว่ามีกำไรสุทธิเป็นจำนวนมาก ข้อสังเกตถ้าอัตรากำไรสุทธิสูงย่อมแสดงถึงนโยบายการกำหนดราคาขายที่ดี นโยบายการจัดซื้อและนโยบายการผลิตที่ดี นอกจากนั้นยังจะแสดงถึงความสามารถของกิจการในการควบคุมค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารและค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่ดีด้วย
อัตราส่วนกำไรสุทธิ เป็นอัตราส่วนทางการเงินเพื่อดูความสามารถในการทำกำไรของกิจการตัวหนึ่ง เป็นอัตราส่วนที่แสดงว่าความสามารถในการทำกำไรสุทธิของกิจการว่าเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของค่าขาย ถ้าอัตราส่วนกำไรสุทธิสูงดีเนื่องจากแสดงถึงความสามารถในการทำกำไรสุทธิ (กำไรที่ได้จากค่าขายหักด้วยต้นทุนสินค้า ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารตามปกติและค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่ไม่ใช่จากการดำเนินงานตามปกติแล้ว) ของกิจการว่ามีกำไรสุทธิเป็นจำนวนมาก ข้อสังเกตถ้าอัตรากำไรสุทธิสูงย่อมแสดงถึงนโยบายการกำหนดราคาขายที่ดี นโยบายการจัดซื้อและนโยบายการผลิตที่ดี นอกจากนั้นยังจะแสดงถึงความสามารถของกิจการในการควบคุมค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารและค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่ดีด้วย

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:09, 12 มิถุนายน 2564

[1]อัตราส่วนกำไรสุทธิ ( Net Profit Margin Ratio)

อัตราส่วนกำไรสุทธิ เป็นอัตราส่วนทางการเงินเพื่อดูความสามารถในการทำกำไรของกิจการตัวหนึ่ง เป็นอัตราส่วนที่แสดงว่าความสามารถในการทำกำไรสุทธิของกิจการว่าเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของค่าขาย ถ้าอัตราส่วนกำไรสุทธิสูงดีเนื่องจากแสดงถึงความสามารถในการทำกำไรสุทธิ (กำไรที่ได้จากค่าขายหักด้วยต้นทุนสินค้า ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารตามปกติและค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่ไม่ใช่จากการดำเนินงานตามปกติแล้ว) ของกิจการว่ามีกำไรสุทธิเป็นจำนวนมาก ข้อสังเกตถ้าอัตรากำไรสุทธิสูงย่อมแสดงถึงนโยบายการกำหนดราคาขายที่ดี นโยบายการจัดซื้อและนโยบายการผลิตที่ดี นอกจากนั้นยังจะแสดงถึงความสามารถของกิจการในการควบคุมค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารและค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่ดีด้วย

สูตรการคำนวณ


อัตราส่วนกำไรสุทธิ = กำไรสุทธิหลังหักภาษี x 100

                             ค่าขายสุทธิ
  1. "ห้องเรียนนักลงทุน". www.set.or.th.