ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
| reign1 = 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1672 – 8 มีนาคม ค.ศ. 1702
| reign1 = 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1672 – 8 มีนาคม ค.ศ. 1702
| predecessor1 = [[วิลเลิมที่ 2 เจ้าชายแห่งออเรนจ์]]
| predecessor1 = [[วิลเลิมที่ 2 เจ้าชายแห่งออเรนจ์]]
| successor1 = [[Second Stadtholderless period]]
| successor1 = [[Second Stadtholderless period|ยุคไร้สตัดเฮาเดอร์ครั้งที่สอง]]
| succession2 = [[เจ้าชายแห่งออเรนจ์]]
| succession2 = [[เจ้าชายแห่งออเรนจ์]]
| reign2 = 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1650{{efn|name=OSNS|During William's lifetime, two calendars were in use in Europe: the Old Style [[Julian calendar]] in Britain and parts of Northern and Eastern Europe, and the New Style [[Gregorian calendar]] elsewhere, including William's birthplace in the Netherlands. At the time of William's birth, Gregorian dates were ten days ahead of Julian dates: thus William was born on 14 November 1650 by Gregorian reckoning, but on 4 November 1650 by Julian reckoning. At William's death, Gregorian dates were eleven days ahead of Julian dates. He died on 19 March 1702 by the Gregorian calendar, and on 8 March 1702 by the standard Julian calendar. (However, the English New Year fell on 25 March, so by English reckoning of the time, William died on 8 March 1701.) Unless otherwise noted, dates in this article follow the Julian calendar with New Year falling on 1 January.}}&nbsp;–<br /> 8 มีนาคม ค.ศ. 1702
| reign2 = 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1650{{efn|name=OSNS|During William's lifetime, two calendars were in use in Europe: the Old Style [[Julian calendar]] in Britain and parts of Northern and Eastern Europe, and the New Style [[Gregorian calendar]] elsewhere, including William's birthplace in the Netherlands. At the time of William's birth, Gregorian dates were ten days ahead of Julian dates: thus William was born on 14 November 1650 by Gregorian reckoning, but on 4 November 1650 by Julian reckoning. At William's death, Gregorian dates were eleven days ahead of Julian dates. He died on 19 March 1702 by the Gregorian calendar, and on 8 March 1702 by the standard Julian calendar. (However, the English New Year fell on 25 March, so by English reckoning of the time, William died on 8 March 1701.) Unless otherwise noted, dates in this article follow the Julian calendar with New Year falling on 1 January.}}&nbsp;–<br /> 8 มีนาคม ค.ศ. 1702
บรรทัด 41: บรรทัด 41:
พระเจ้าวิลเลียมทรงเป็นขุนนางดัทช์ชั้นสูง เป็นศาสนิกชนนิกายโปรแตสแตนต์ เป็นพระราชโอรสของ[[วิลเลิมที่ 2 เจ้าชายแห่งออเรนจ์]]กับ[[เจ้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเจ้าหญิงแห่งออเรนจ์|เจ้าหญิงแมรี สจวต]] ซึ่งเป็นพระราชธิดาใน[[พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ]] ประสูติที่กรุงเฮก ภายหลัง 8 วันจากที่พระองค์พระราชสมภพ พระบิดาของพระองค์ก็สวรรคตด้วยไข้ทรพิษ ดังนั้น จึงทำให้พระเจ้าวิลเลียมทรงกลายเป็นเจ้าชายผู้ทรงอำนาจสูงสุดนับตั้งแต่ถือกำเนิดเลยทีเดียวก็ว่าได้
พระเจ้าวิลเลียมทรงเป็นขุนนางดัทช์ชั้นสูง เป็นศาสนิกชนนิกายโปรแตสแตนต์ เป็นพระราชโอรสของ[[วิลเลิมที่ 2 เจ้าชายแห่งออเรนจ์]]กับ[[เจ้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเจ้าหญิงแห่งออเรนจ์|เจ้าหญิงแมรี สจวต]] ซึ่งเป็นพระราชธิดาใน[[พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ]] ประสูติที่กรุงเฮก ภายหลัง 8 วันจากที่พระองค์พระราชสมภพ พระบิดาของพระองค์ก็สวรรคตด้วยไข้ทรพิษ ดังนั้น จึงทำให้พระเจ้าวิลเลียมทรงกลายเป็นเจ้าชายผู้ทรงอำนาจสูงสุดนับตั้งแต่ถือกำเนิดเลยทีเดียวก็ว่าได้


ต่อมาเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2203 เมื่อพระเจ้าวิลเลียมมีพระชนมายุได้ราวสิบกว่าพรรษา พระราชมารดาก็สวรรคตด้วยไข้ทรพิษในระหว่างที่ทรงเยี่ยม[[พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ]]พระเชษฐาของพระองค์ โดยก่อนที่จะสิ้นพระชนม์ลงได้ทรงตัดสินใจให้พระเจ้าชาลส์เป็นผู้ปกครอง โดยพระเจ้าชาลส์นั้นได้ทรงมอบหน้าที่ให้เป็นของเจ้าหญิงอมาเลีย เนื่องจากทรงเข้าใจในพระราชประสงค์ของพระเจ้าชาลส์เป็นอย่างดี และพระองค์ก็มิได้ทรงละเลยในการเขียนจดหมายติดต่อถึงหลานชายแต่อย่างใด
เมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2203 ขณะพระเจ้าวิลเลียมมีพระชนมายุได้ราวสิบกว่าพรรษา พระราชมารดาก็สิ้นพระชนม์ด้วยไข้ทรพิษในระหว่างที่ทรงเยี่ยม[[พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ]]พระเชษฐาของพระองค์ โดยก่อนที่จะสิ้นพระชนม์ลงได้ทรงตัดสินใจให้พระเจ้าชาลส์เป็นผู้ปกครอง โดยพระเจ้าชาลส์นั้นได้ทรงมอบหน้าที่ให้เป็นของเจ้าหญิงอมาเลีย เนื่องจากทรงเข้าใจในพระราชประสงค์ของพระเจ้าชาลส์เป็นอย่างดี และพระองค์ก็มิได้ทรงละเลยในการเขียนจดหมายติดต่อถึงหลานชายแต่อย่างใด


ใน ค.ศ. 1674 พระองค์ได้มีความพยายามในการที่จะสมรสกับแมรีหลานสาวของพระองค์เอง ซึ่งแมรี่เป็นธิดาของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ การสมรสนี้แม้นว่าเป็นไปอย่างยาก ลำบากมากก็ตาม แต่ในที่สุดก็ทรงได้เข้าพิธีอภิเษกสมรสใน ค.ศ. 1677
ใน ค.ศ. 1674 พระองค์ได้มีความพยายามในการที่จะสมรสกับแมรีหลานสาวของพระองค์เอง ซึ่งแมรี่เป็นธิดาของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ การสมรสนี้แม้นว่าเป็นไปอย่างยาก ลำบากมากก็ตาม แต่ในที่สุดก็ทรงได้เข้าพิธีอภิเษกสมรสใน ค.ศ. 1677
บรรทัด 48: บรรทัด 48:


<!-- 'พระราชอำนาจและอิทธิพลของพระองค์ก็ได้แผ่ขยาย และเป็นจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนถ่ายอำนาจ และควบคุมรัฐบาลแห่งสจวต ไปยังรัฐสภาให้มีการปกครองในแบบ[[ราชวงศ์ฮาโนเวอร์]]' ข้อมูลนี้ไม่ถูกต้องดูข้อมูลในพระราชประวัติของพระราชินีนาถแอนน์ และ พระราชินีนาถแมรี - mattis -->
<!-- 'พระราชอำนาจและอิทธิพลของพระองค์ก็ได้แผ่ขยาย และเป็นจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนถ่ายอำนาจ และควบคุมรัฐบาลแห่งสจวต ไปยังรัฐสภาให้มีการปกครองในแบบ[[ราชวงศ์ฮาโนเวอร์]]' ข้อมูลนี้ไม่ถูกต้องดูข้อมูลในพระราชประวัติของพระราชินีนาถแอนน์ และ พระราชินีนาถแมรี - mattis -->
พระองค์สวรรคตใน ค.ศ. 1702 ด้วยโรคปอดอักเสบ อันเนื่องจากการที่พระองค์ทรงตกจากม้าของพระองค์เอง และเป็นที่เชื่อกันว่าม้าของพระองค์ นั้นได้ก้าวเท้าพลาดไปสะดุดกับรังของตัวตุ่นเข้า และนี่คงเป็นเหตุผลหนึ่งของที่มา ในการดื่มอวยพร Make a toasted ซึ่งมักจะมีการนิยมกล่าวกันในระหว่างที่ดื่มอวยพรว่า ''"the little gentleman in the black velvet waistcoat."'' และในปีถัดมา ท่านเซอร์[[วินสตัน เชอร์ชิล]] ก็ได้เพิ่มเติมลงไปอีกว่า ''"opened the trapdoor to a host of lurking foes".''
พระองค์สวรรคตใน ค.ศ. 1702 ด้วยโรคปอดอักเสบ อันเนื่องจากการที่พระองค์ทรงตกจากม้าของพระองค์เอง และเป็นที่เชื่อกันว่าม้าของพระองค์ นั้นได้ก้าวเท้าพลาดไปสะดุดกับรังของตัวตุ่นเข้า และนี่คงเป็นเหตุผลหนึ่งของที่มา ในการดื่มอวยพร Make a toasted ซึ่งมักจะมีการนิยมกล่าวกันในระหว่างที่ดื่มอวยพรว่า ''"the little gentleman in the black velvet waistcoat."'' และในปีถัดมา เซอร์[[วินสตัน เชอร์ชิล]] ก็ได้เพิ่มเติมลงไปอีกว่า ''"opened the trapdoor to a host of lurking foes".''


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:41, 16 พฤษภาคม 2564

วิลเลียมที่ 3 และ 2
Colour oil painting of William
กษัตริย์แห่งอังกฤษ สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์
ครองราชย์1689[a] – 8 มีนาคม ค.ศ. 1702
ราชาภิเษก11 เมษายน ค.ศ. 1689
ก่อนหน้าเจมส์ที่ 2 และ 7
ถัดไปแอนน์
กษัตริย์ร่วมรัชกาลแมรีที่ 2 (1689–1694)
สตัดเฮาเดอร์แห่งฮอลแลนด์ ซีแลนด์ ยูเทรกต์ เกลเดอร์ส และโอเฟอไรส์เซิล
ครองราชย์4 กรกฎาคม ค.ศ. 1672 – 8 มีนาคม ค.ศ. 1702
ก่อนหน้าวิลเลิมที่ 2 เจ้าชายแห่งออเรนจ์
ถัดไปยุคไร้สตัดเฮาเดอร์ครั้งที่สอง
เจ้าชายแห่งออเรนจ์
ครองราชย์4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1650[b] –
8 มีนาคม ค.ศ. 1702
ก่อนหน้าวิลเลิมที่ 2 เจ้าชายแห่งออเรนจ์
ถัดไปโยฮัน วิลเลิม ฟริโซ (ประมุขในนาม)
พระราชสมภพ4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1650
บินเนนฮอฟ เดอะเฮก สาธารณรัฐดัตช์
สวรรคต8 มีนาคม ค.ศ. 1702 (51 ปี)
พระราชวังเค็นซิงตัน มิดเดิลเซ็กส์ ราชอาณาจักรอังกฤษ
ฝังพระศพ12 เมษายน 1702
เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ ลอนดอน
Spouseแมรีที่ 2
ราชวงศ์
พระราชบิดาวิลเลิมที่ 2 เจ้าชายแห่งออเรนจ์
พระราชมารดาเจ้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเจ้าหญิงแห่งออเรนจ์
ศาสนาโปรเตสแตนต์
ลายพระอภิไธย

พระเจ้าวิลเลียมที่ 3[1] (ดัตช์: Willem Hendrik; อังกฤษ: William Henry หรือ William III of England; 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1650 — 8 มีนาคม ค.ศ. 1702) หรือรู้จักกันดีในพระนาม วิลเลมแห่งออเรนจ์ ทรงเป็นประมุขแห่งราชรัฐออเรนจ์ตั้งแต่พระราชสมภพ สตัดเฮาเดอร์แห่งฮอลแลนด์ ซีแลนด์ ยูเทรกต์ เกลเดอร์ส และโอเฟอไรส์เซิลในสาธารณรัฐดัตช์ตั้งแต่ ค.ศ. 1672 และพระมหากษัตริย์แห่งอังกฤษ สกอตแลนด์และไอร์แลนด์ตั้งแต่ ค.ศ. 1689 กระทั่งสวรรคตใน ค.ศ. 1702 ในสกอตแลนด์ พระองค์ทรงมีพระนามว่า วิลเลียมที่ 2[2] และยังมีการเรียกขานพระองค์อย่างไม่เป็นทางการว่า "คิงบิลลี (King Billy)" ในสกอตแลนด์และไอร์แลนด์[3] นักประวัติศาสตร์มักกล่าวถึงพระองค์ร่วมกับพระมเหสี พระราชินีนาถแมรีที่ 2 ว่า วิลเลียมและแมรี ในฐานะที่ทั้งสองทรงครองราชสมบัติร่วมกันในฐานะพระมหากษัตริย์

พระเจ้าวิลเลียมทรงเป็นขุนนางดัทช์ชั้นสูง เป็นศาสนิกชนนิกายโปรแตสแตนต์ เป็นพระราชโอรสของวิลเลิมที่ 2 เจ้าชายแห่งออเรนจ์กับเจ้าหญิงแมรี สจวต ซึ่งเป็นพระราชธิดาในพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ ประสูติที่กรุงเฮก ภายหลัง 8 วันจากที่พระองค์พระราชสมภพ พระบิดาของพระองค์ก็สวรรคตด้วยไข้ทรพิษ ดังนั้น จึงทำให้พระเจ้าวิลเลียมทรงกลายเป็นเจ้าชายผู้ทรงอำนาจสูงสุดนับตั้งแต่ถือกำเนิดเลยทีเดียวก็ว่าได้

เมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2203 ขณะพระเจ้าวิลเลียมมีพระชนมายุได้ราวสิบกว่าพรรษา พระราชมารดาก็สิ้นพระชนม์ด้วยไข้ทรพิษในระหว่างที่ทรงเยี่ยมพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษพระเชษฐาของพระองค์ โดยก่อนที่จะสิ้นพระชนม์ลงได้ทรงตัดสินใจให้พระเจ้าชาลส์เป็นผู้ปกครอง โดยพระเจ้าชาลส์นั้นได้ทรงมอบหน้าที่ให้เป็นของเจ้าหญิงอมาเลีย เนื่องจากทรงเข้าใจในพระราชประสงค์ของพระเจ้าชาลส์เป็นอย่างดี และพระองค์ก็มิได้ทรงละเลยในการเขียนจดหมายติดต่อถึงหลานชายแต่อย่างใด

ใน ค.ศ. 1674 พระองค์ได้มีความพยายามในการที่จะสมรสกับแมรีหลานสาวของพระองค์เอง ซึ่งแมรี่เป็นธิดาของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ การสมรสนี้แม้นว่าเป็นไปอย่างยาก ลำบากมากก็ตาม แต่ในที่สุดก็ทรงได้เข้าพิธีอภิเษกสมรสใน ค.ศ. 1677

พระองค์ได้ทรงเข้าไปมีส่วนร่วมในสงครามที่ต่อต้านอำนาจพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสหลายต่อหลายครั้งด้วยกัน เหล่าสมาชิกนิกายโปรแตสแตนต์ถึงกับได้มอบเหรียญตราและเครื่องราชอิสริยาภรณ์เนื่องจากเลื่อมใสศรัทธาในพระองค์ แต่นั่นก็เป็นเพียงแค่บางส่วนเท่านั้น ชื่อเสียงและกิตติศัพท์ของพระองค์ทำให้พระองค์ทรงได้รับการสถาปนาเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษในเวลาต่อมา ถึงแม้ว่าจะมีเหตุผลอื่น ในการประสบความสำเร็จของพระองค์จะเป็นในด้านการทหาร หรือกองเรือรบที่มีขนาดใหญ่ที่สุดก็ตาม

พระองค์สวรรคตใน ค.ศ. 1702 ด้วยโรคปอดอักเสบ อันเนื่องจากการที่พระองค์ทรงตกจากม้าของพระองค์เอง และเป็นที่เชื่อกันว่าม้าของพระองค์ นั้นได้ก้าวเท้าพลาดไปสะดุดกับรังของตัวตุ่นเข้า และนี่คงเป็นเหตุผลหนึ่งของที่มา ในการดื่มอวยพร Make a toasted ซึ่งมักจะมีการนิยมกล่าวกันในระหว่างที่ดื่มอวยพรว่า "the little gentleman in the black velvet waistcoat." และในปีถัดมา เซอร์วินสตัน เชอร์ชิล ก็ได้เพิ่มเติมลงไปอีกว่า "opened the trapdoor to a host of lurking foes".

อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถาน, สารานุกรมประเทศในทวีปยุโรป ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2550, หน้า 251
  2. "Act of Union 1707, the Revolution in Scotland". UK Parliament. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 June 2008. สืบค้นเมื่อ 8 August 2008.
  3. Peter Burke (1997). Varieties of Cultural History. Cornell University Press. p. 51. ISBN 0-8014-8492-8.
ก่อนหน้า พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ ถัดไป
พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ
พระมหากษัตริย์อังกฤษ
พระมหากษัตริย์ไอร์แลนด์
(ราชวงศ์ออเรนจ์-นัสเซา)

(ค.ศ. 1689 – 1702
ร่วมกับพระราชินีนาถแมรีที่ 2 (ค.ศ. 1689 – 1694) )
พระราชินีนาถแอนน์
พระเจ้าเจมส์ที่ 7 แห่งสกอตแลนด์
พระมหากษัตริย์สกอตแลนด์
(ราชวงศ์ออเรนจ์-นัสเซา)

(ค.ศ. 1689 – 1702
ร่วมกับพระราชินีนาถแมรีที่ 2 (ค.ศ. 1689 – 1694) )
ว่าง
วิลเลียมที่ 2 เจ้าชายแห่งออเรนจ์
เจ้าชายแห่งออเรนจ์
(ราชวงศ์ออเรนจ์-นัสเซา)

(ค.ศ. 1650 – 1702)
โยฮัน วิลเลิม ฟริโซ เจ้าชายแห่งออเรนจ์


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/> ที่สอดคล้องกัน