ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทศบาลเมืองคูคต"

พิกัด: 13°56′33.0″N 100°39′03.6″E / 13.942500°N 100.651000°E / 13.942500; 100.651000
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 31: บรรทัด 31:
'''เทศบาลเมืองคูคต''' เป็น[[เทศบาลเมือง]]ซึ่งมีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่หมู่ที่ 4–5, 8–11, 13–18 และบางส่วนของหมู่ที่ 3, 6, 7, 12 ตำบลคูคต [[อำเภอลำลูกกา]] [[จังหวัดปทุมธานี]] เดิมมีฐานะเป็น "สุขาภิบาลคูคต" แล้วจึงยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมืองใน พ.ศ. 2539<ref name="ยกฐานะ">{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=113|issue=5 ก|pages=4–6|title=พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองคูคต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ. ๒๕๓๙|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2539/A/005/4.PDF|date=6 มีนาคม 2539|language=}}</ref> ต่อมาในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2542 ได้เปิดใช้งานอาคารสำนักงานเทศบาลแห่งใหม่<ref>[https://khukhot.go.th/public/list/data/index/menu/1142 ประวัติเทศบาลเมืองคูคต]</ref> ปัจจุบันเทศบาลเมืองคูคตมีประชากร 43,941 คน<ref name="ประชากร"/>
'''เทศบาลเมืองคูคต''' เป็น[[เทศบาลเมือง]]ซึ่งมีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่หมู่ที่ 4–5, 8–11, 13–18 และบางส่วนของหมู่ที่ 3, 6, 7, 12 ตำบลคูคต [[อำเภอลำลูกกา]] [[จังหวัดปทุมธานี]] เดิมมีฐานะเป็น "สุขาภิบาลคูคต" แล้วจึงยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมืองใน พ.ศ. 2539<ref name="ยกฐานะ">{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=113|issue=5 ก|pages=4–6|title=พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองคูคต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ. ๒๕๓๙|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2539/A/005/4.PDF|date=6 มีนาคม 2539|language=}}</ref> ต่อมาในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2542 ได้เปิดใช้งานอาคารสำนักงานเทศบาลแห่งใหม่<ref>[https://khukhot.go.th/public/list/data/index/menu/1142 ประวัติเทศบาลเมืองคูคต]</ref> ปัจจุบันเทศบาลเมืองคูคตมีประชากร 43,941 คน<ref name="ประชากร"/>


เทศบาลเมืองคูคตอยู่ห่างจากตัวอำเภอลำลูกกาไปประมาณ 16 กิโลเมตร การขนส่งมีถนนสายหลักอย่าง[[ถนนพหลโยธิน]]และ[[ถนนวิภาวดีรังสิต]] ซึ่งถนนทั้งสองสายมาบรรจบกันที่[[อนุสรณ์สถานแห่งชาติ]] นอกจากนี้ยังมีเส้นทาง[[รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท|รถไฟฟ้าสายสีเขียว]]ซึ่งมาสิ้นสุดที่สถานีคูคตในเขตเทศบาล และมีโครงการส่วนต่อขยายไปยัง[[ถนนกาญจนาภิเษก|วงแหวนกาญจนาภิเษก]]<ref>[https://www.estopolis.com/article/news/pr/ส่องทำเลสายอนาคต-รถไฟฟ้าสายสีเขียวช่วงคูคต-ลำลูกกา- ส่องทำเลสายอนาคต รถไฟฟ้าสายสีเขียวช่วงคูคต-ลำลูกกา]</ref> การไฟฟ้าอยู่ภายใต้การดูแลของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาครังสิต ส่วนการประปาอยู่ภายใต้การควบคุมของการประปาส่วนภูมิภาครังสิต เขตเทศบาลเป็นพื้นที่ชานเมืองหรือปริมณฑลของ[[กรุงเทพมหานคร]] มีศูนย์กลางรับส่งสินค้าเกษตร นั่นคือ ตลาดสี่มุมเมือง และมีห้างสรรพสินค้า คือ [[เซียร์ รังสิต]]<ref name="ทั่วไป"/>
เทศบาลเมืองคูคตอยู่ห่างจากตัวอำเภอลำลูกกาไปประมาณ 16 กิโลเมตร การขนส่งมีถนนสายหลักอย่าง[[ถนนพหลโยธิน]]และ[[ถนนวิภาวดีรังสิต]] ซึ่งถนนทั้งสองสายมาบรรจบกันที่[[อนุสรณ์สถานแห่งชาติ]] นอกจากนี้ยังมีเส้นทาง[[รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท|รถไฟฟ้าสายสีเขียว]]ซึ่งมาสิ้นสุดที่[[สถานีคูคต]]ในเขตเทศบาล และมีโครงการส่วนต่อขยายไปยัง[[ถนนกาญจนาภิเษก|วงแหวนกาญจนาภิเษก]]<ref>[https://www.estopolis.com/article/news/pr/ส่องทำเลสายอนาคต-รถไฟฟ้าสายสีเขียวช่วงคูคต-ลำลูกกา- ส่องทำเลสายอนาคต รถไฟฟ้าสายสีเขียวช่วงคูคต-ลำลูกกา]</ref> การไฟฟ้าอยู่ภายใต้การดูแลของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาครังสิต ส่วนการประปาอยู่ภายใต้การควบคุมของการประปาส่วนภูมิภาครังสิต เขตเทศบาลเป็นพื้นที่ชานเมืองหรือปริมณฑลของ[[กรุงเทพมหานคร]] มีศูนย์กลางรับส่งสินค้าเกษตร นั่นคือ ตลาดสี่มุมเมือง และมีห้างสรรพสินค้า คือ [[เซียร์ รังสิต]]<ref name="ทั่วไป"/>


ประชากรในเขตเทศบาลส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีโรงเรียน 11 แห่ง และมีโรงพยาบาลหนึ่งแห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลแพทย์รังสิต ซึ่งเป็นโรงพยาบาลเอกชน<ref name="ทั่วไป">[https://khukhot.go.th/public/list/data/index/menu/1144 ข้อมูลทั่วไปเทศบาลเมืองคูคต]</ref> เขตเทศบาลแห่งนี้ยังเป็นที่ตั้งของสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์อย่าง [[อนุสรณ์สถานแห่งชาติ]] ซึ่งปรากฏในตราสัญลักษณ์ของเทศบาล
ประชากรในเขตเทศบาลส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีโรงเรียน 11 แห่ง และมีโรงพยาบาลหนึ่งแห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลแพทย์รังสิต ซึ่งเป็นโรงพยาบาลเอกชน<ref name="ทั่วไป">[https://khukhot.go.th/public/list/data/index/menu/1144 ข้อมูลทั่วไปเทศบาลเมืองคูคต]</ref> เขตเทศบาลแห่งนี้ยังเป็นที่ตั้งของสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์อย่าง [[อนุสรณ์สถานแห่งชาติ]] ซึ่งปรากฏในตราสัญลักษณ์ของเทศบาล

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:35, 8 พฤษภาคม 2564

เทศบาลเมืองคูคต
อนุสรณ์สถานแห่งชาติ
ทม.เทศบาลเมืองคูคตตั้งอยู่ในจังหวัดปทุมธานี
ทม.เทศบาลเมืองคูคต
ทม.เทศบาลเมืองคูคต
ที่ตั้งสำนักงานเทศบาลเมืองคูคต
พิกัด: 13°56′33.0″N 100°39′03.6″E / 13.942500°N 100.651000°E / 13.942500; 100.651000
ประเทศ ไทย
จังหวัดปทุมธานี
อำเภอลำลูกกา
จัดตั้ง • 28 เมษายน 2526 (สุขาภิบาลคูคต)
 • 5 พฤษภาคม 2539 (ทม.คูคต)
พื้นที่
 • ทั้งหมด12.48 ตร.กม. (4.82 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2563)[1]
 • ทั้งหมด43,941 คน
 • ความหนาแน่น3,520.91 คน/ตร.กม. (9,119.1 คน/ตร.ไมล์)
รหัส อปท.04130601
ที่อยู่
สำนักงาน
เลขที่ 999 หมู่ที่ 18 ซอยลำลูกกา 21 ถนนลำลูกกา ตำบลคูคต อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12130
เว็บไซต์khukhot.go.th
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

เทศบาลเมืองคูคต เป็นเทศบาลเมืองซึ่งมีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่หมู่ที่ 4–5, 8–11, 13–18 และบางส่วนของหมู่ที่ 3, 6, 7, 12 ตำบลคูคต อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี เดิมมีฐานะเป็น "สุขาภิบาลคูคต" แล้วจึงยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมืองใน พ.ศ. 2539[2] ต่อมาในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2542 ได้เปิดใช้งานอาคารสำนักงานเทศบาลแห่งใหม่[3] ปัจจุบันเทศบาลเมืองคูคตมีประชากร 43,941 คน[1]

เทศบาลเมืองคูคตอยู่ห่างจากตัวอำเภอลำลูกกาไปประมาณ 16 กิโลเมตร การขนส่งมีถนนสายหลักอย่างถนนพหลโยธินและถนนวิภาวดีรังสิต ซึ่งถนนทั้งสองสายมาบรรจบกันที่อนุสรณ์สถานแห่งชาติ นอกจากนี้ยังมีเส้นทางรถไฟฟ้าสายสีเขียวซึ่งมาสิ้นสุดที่สถานีคูคตในเขตเทศบาล และมีโครงการส่วนต่อขยายไปยังวงแหวนกาญจนาภิเษก[4] การไฟฟ้าอยู่ภายใต้การดูแลของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาครังสิต ส่วนการประปาอยู่ภายใต้การควบคุมของการประปาส่วนภูมิภาครังสิต เขตเทศบาลเป็นพื้นที่ชานเมืองหรือปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร มีศูนย์กลางรับส่งสินค้าเกษตร นั่นคือ ตลาดสี่มุมเมือง และมีห้างสรรพสินค้า คือ เซียร์ รังสิต[5]

ประชากรในเขตเทศบาลส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีโรงเรียน 11 แห่ง และมีโรงพยาบาลหนึ่งแห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลแพทย์รังสิต ซึ่งเป็นโรงพยาบาลเอกชน[5] เขตเทศบาลแห่งนี้ยังเป็นที่ตั้งของสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์อย่าง อนุสรณ์สถานแห่งชาติ ซึ่งปรากฏในตราสัญลักษณ์ของเทศบาล

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 "รายงานสถิติจำนวนประชากรและบ้าน ประจำปี พ.ศ. 2563 ท้องถิ่นเทศบาลเมืองคูคต". ระบบสถิติทางการทะเบียน กรมการปกครอง. สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. "พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองคูคต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ. ๒๕๓๙" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 113 (5 ก): 4–6. 6 มีนาคม 2539.
  3. ประวัติเทศบาลเมืองคูคต
  4. ส่องทำเลสายอนาคต รถไฟฟ้าสายสีเขียวช่วงคูคต-ลำลูกกา
  5. 5.0 5.1 ข้อมูลทั่วไปเทศบาลเมืองคูคต

แหล่งข้อมูลอื่น