ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงวน ตุลารักษ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 9265078 โดย Security Thainam: ไม่มีอ้างอิงด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ศรีคำ002 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox Person
{{Infobox Officeholder
| name = สงวน ตุลารักษ์
| name = สงวน ตุลารักษ์
| image = ไฟล์:สงวน ตุลารักษ์.jpg
| image = สงวน ตุลารักษ์.jpg
| honorific_prefix =
| honorific_prefix =
| birth_date = {{วันเกิด|2445|6|18}}
| birth_date = {{วันเกิด|2445|6|18}}
| birth_place =
| birth_place =
| death_date = {{วันตาย-อายุ|2538|5|15|2445|6|18}}
| death_date = {{วันตาย-อายุ|2538|5|15|2445|6|18}}
| residence =
| death_place =
| known_for = [[คณะราษฎร]]<br>[[ขบวนการเสรีไทย]]
| otherparty = [[คณะราษฎร]]<br>[[ขบวนการเสรีไทย]]
| employer =
| employer =
| occupation = [[นักการทูต]]
| occupation = [[นักการเมือง]] [[นักการทูต]]
| order = [[รัฐมนตรี]]
| height =
| term_start = 1 กันยายน พ.ศ. 2488
| term =
| term_end = 31 มกราคม พ.ศ. 2489
| parents =
| primeminister = [[ทวี บุณยเกตุ]]<br>[[หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช]]
| spouse =
| children =
| relatives =
| relatives =
| signature =
| signature =

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:27, 8 พฤษภาคม 2564

สงวน ตุลารักษ์
รัฐมนตรี
ดำรงตำแหน่ง
1 กันยายน พ.ศ. 2488 – 31 มกราคม พ.ศ. 2489
นายกรัฐมนตรีทวี บุณยเกตุ
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด18 มิถุนายน พ.ศ. 2445
เสียชีวิต15 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 (92 ปี)
การเข้าร่วม
พรรคการเมืองอื่น
คณะราษฎร
ขบวนการเสรีไทย
อาชีพนักการเมือง นักการทูต

สงวน ตุลารักษ์ (18 มิถุนายน พ.ศ. 2445 — 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2538) เป็นนักการเมืองไทยและสมาชิกผู้นำของเสรีไทย นายสงวนสืบเชื้อสายมาจากชาวจีน โดยมีเทือกเถาเหล่ากอเป็นชาวแต้จิ๋ว[1]

นายสงวนเป็นผู้ติดตาม นายปรีดี พนมยงค์ มาเป็นเวลานาน และเข้าร่วมกับกลุ่มการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 หลังจากนั้น ได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและประธานสำนักงานโรงงานยาสูบในกระทรวงการคลัง

ในปี พ.ศ. 2486 นายสงวนได้เป็นผู้นำคณะผู้แทนที่ถูกส่งโดยผู้นำเสรีไทยเพื่อติดต่อกับฝ่ายสัมพันธมิตรที่ฉงชิ่ง ความพยายามของนายสงวนพิสูจน์แล้วว่ามีความสำคัญยิ่งในการรับเอาความช่วยเหลือของอังกฤษและสหรัฐอเมริกามาให้กับขบวนการเคลื่อนไหวใต้ดินดังกล่าว ซึ่งในไม่ช้า เสรีไทยก็มีอาวุธและยุทโธปกรณ์มากพอสำหรับปฏิบัติการกองโจรอย่างมีประสิทธิภาพ

ในปี พ.ศ. 2488 ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายทวี บุญยเกตุ[2] และในรัฐบาลของหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช[3]

ในปี พ.ศ. 2489 ได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตประจำสาธารณรัฐจีน และปฏิเสธที่จะเดินทางกลับประเทศไทยหลังจากรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490 โดยประกาศว่ารัฐธรรมนูญฉบับใหม่นั้นไม่ชอบด้วยกฎหมาย นายสงวนใช้เวลาอีกสิบปีถัดมาอาศัยอยู่ในจีน จึงเดินทางกลับประเทศไทยในปี พ.ศ. 2500 และถูกสั่งจำคุกโดยรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ก่อนจะได้รับการปล่อยตัวในปี พ.ศ. 2508

อ้างอิง

  1. E. Bruce Reynolds. Thailand's Secret War: The Free Thai, OSS, and SOE. Cambridge University Press. pp. 122–3. ISBN 0521836018.
  2. พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งและแต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๒๙ ราย)
  3. พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งและแต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๒๒ ราย)