ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตรี ด่านไพบูลย์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ศรีคำ002 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ศรีคำ002 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 33: บรรทัด 33:


== บทบาททางการเมือง ==
== บทบาททางการเมือง ==
มนตรี ด่านไพบูลย์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดลำพูน สังกัด[[พรรคสยามประชาธิปไตย]] สมัยแรก[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522|ในปี พ.ศ. 2522]]และมีนาย[[สุพร อัตถาวงศ์]] เป็นผู้ช่วย<ref>[http://www.oknation.net/blog/print.php?id=603460 รู้จัก "แรมโบ้อิสาน- สุพร อัตถาวงค์"]</ref> ต่อมาจึงย้ายมาสังกัด[[พรรคกิจสังคม]] และ [[พรรคความหวังใหม่]] ตามลำดับ และเคยได้รับตำแหน่งสำคัญทางการเมืองหลายตำแหน่ง อาทิ เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ(สมัยพล.อ.อ.สิทธิ เศวตศิลา) รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2535/D/138/30.PDF คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 218/2535 เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการการเมือง (1นายมนตรี ด่านไพบูลย์ 2 นางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์ 3 นายธำรงค์ ไทยมงคล)]</ref> เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ พ.ศ. 2538 - พ.ศ. 2539 เป็นรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2539/E/044/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๔๙ ราย)]</ref> พ.ศ. 2539 - พ.ศ. 2540 และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม พ.ศ. 2540<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/E/072/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี และแต่งตั้งรัฐมนตรี]</ref>
ตรี ด่านไพบูลย์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดลำพูน สังกัด[[พรรคสยามประชาธิปไตย]] สมัยแรก[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522|ในปี พ.ศ. 2522]]และมีนาย[[สุพร อัตถาวงศ์]] เป็นผู้ช่วย<ref>[http://www.oknation.net/blog/print.php?id=603460 รู้จัก "แรมโบ้อิสาน- สุพร อัตถาวงค์"]</ref> ต่อมาจึงย้ายมาสังกัด[[พรรคกิจสังคม]] และ [[พรรคความหวังใหม่]] ตามลำดับ และเคยได้รับตำแหน่งสำคัญทางการเมืองหลายตำแหน่ง อาทิ เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ(สมัยพล.อ.อ.สิทธิ เศวตศิลา) รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2535/D/138/30.PDF คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 218/2535 เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการการเมือง (1นายมนตรี ด่านไพบูลย์ 2 นางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์ 3 นายธำรงค์ ไทยมงคล)]</ref> เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ พ.ศ. 2538 - พ.ศ. 2539 เป็นรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2539/E/044/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๔๙ ราย)]</ref> พ.ศ. 2539 - พ.ศ. 2540 และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม พ.ศ. 2540<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/E/072/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี และแต่งตั้งรัฐมนตรี]</ref>


ภายหลัง[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2544|การเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2544]] ที่นายมนตรี ด่านไพบูลย์ ต้องแพ้การเลือกตั้งให้กับนางสาว[[อาภาภรณ์ พุทธปวน]] ผู้สมัครจากพรรคไทยรักไทย หลานสาวของ รศ.ดร.[[ชรินรัตน์ พุทธปวน]] จึงได้หันหลังให้กับการเมืองระดับชาติ และมาลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) โดยการสนับสนุนของพรรคไทยรักไทย แต่ก็แพ้การเลือกตั้งให้กับนาย[[สมาน ชมภูเทพ]] อดีต ส.ส. หลายสมัยจาก[[พรรคประชาธิปัตย์]]
ภายหลัง[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2544|การเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2544]] ที่ตรี ด่านไพบูลย์ ต้องแพ้การเลือกตั้งให้กับนางสาว[[อาภาภรณ์ พุทธปวน]] ผู้สมัครจากพรรคไทยรักไทย หลานสาวของ รศ.ดร.[[ชรินรัตน์ พุทธปวน]] จึงได้หันหลังให้กับการเมืองระดับชาติ และมาลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) โดยการสนับสนุนของพรรคไทยรักไทย แต่ก็แพ้การเลือกตั้งให้กับนาย[[สมาน ชมภูเทพ]] อดีต ส.ส. หลายสมัยจาก[[พรรคประชาธิปัตย์]]


ต่อมา ใน[[การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557]] นายตรี หรือ มนตรี ได้ลงรับสมัครเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดลำพูน และได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดลำพูน
ต่อมา ใน[[การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557]] ตรี ได้ลงรับสมัครเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดลำพูน และได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดลำพูน


== รางวัลดีเด่น ==
== รางวัลดีเด่น ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:07, 8 พฤษภาคม 2564

ตรี ด่านไพบูลย์
รัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย
ดำรงตำแหน่ง
29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 – 15 สิงหาคม พ.ศ. 2540
นายกรัฐมนตรีพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ
ก่อนหน้าบุญชู ตรีทอง
ถัดไปฉัตรชัย เอียสกุล
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
ดำรงตำแหน่ง
15 สิงหาคม พ.ศ. 2540 – 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
นายกรัฐมนตรีพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ
ก่อนหน้าฉัตรชัย เอียสกุล
ถัดไปดร.ไตรรงค์ สุวรรณคีรี
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด24 ธันวาคม พ.ศ. 2495 (71 ปี)
จังหวัดลำพูน ประเทศไทย
ศาสนาพุทธ
พรรคการเมืองไทยรักไทย

ตรี ด่านไพบูลย์[1] (นามเดิม มนตรี ด่านไพบูลย์ : 18 ธันวาคม พ.ศ. 2495) สมาชิกวุฒิสภา จังหวัดลำพูน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดลำพูน เป็นบุตรของนายศักดิ์ - นางทองพูน ด่านไพบูลย์

การศึกษา

ตรี ด่านไพบูลย์ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี เกษตรศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2517 ปริญญาเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2543 ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตตมศักดิ์ (มนุษยศาสตร์) จากมหาวิทยาลัยลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ พ.ศ. 2540 และในปี พ.ศ. 2553 ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตตมศักดิ์ (วิศวกรรมศาสตร์ การจัดการ) จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง

บทบาททางการเมือง

ตรี ด่านไพบูลย์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดลำพูน สังกัดพรรคสยามประชาธิปไตย สมัยแรกในปี พ.ศ. 2522และมีนายสุพร อัตถาวงศ์ เป็นผู้ช่วย[2] ต่อมาจึงย้ายมาสังกัดพรรคกิจสังคม และ พรรคความหวังใหม่ ตามลำดับ และเคยได้รับตำแหน่งสำคัญทางการเมืองหลายตำแหน่ง อาทิ เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ(สมัยพล.อ.อ.สิทธิ เศวตศิลา) รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย[3] เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ พ.ศ. 2538 - พ.ศ. 2539 เป็นรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย[4] พ.ศ. 2539 - พ.ศ. 2540 และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม พ.ศ. 2540[5]

ภายหลังการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2544 ที่ตรี ด่านไพบูลย์ ต้องแพ้การเลือกตั้งให้กับนางสาวอาภาภรณ์ พุทธปวน ผู้สมัครจากพรรคไทยรักไทย หลานสาวของ รศ.ดร.ชรินรัตน์ พุทธปวน จึงได้หันหลังให้กับการเมืองระดับชาติ และมาลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) โดยการสนับสนุนของพรรคไทยรักไทย แต่ก็แพ้การเลือกตั้งให้กับนายสมาน ชมภูเทพ อดีต ส.ส. หลายสมัยจากพรรคประชาธิปัตย์

ต่อมา ในการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557 ตรี ได้ลงรับสมัครเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดลำพูน และได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดลำพูน

รางวัลดีเด่น

มนตรี ด่านไพบูลย์ ได้รับรางวัลผู้ทำคุณประโยชน์กับวงการเกษตร ซึ่งมอบรางวัลโดย นายอำนวย วีรวรรณ รองนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2540 พร้อมกับนายประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง