ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แคว้นวอลลูน"

พิกัด: 50°30′0″N 4°45′0″E / 50.50000°N 4.75000°E / 50.50000; 4.75000
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Fifakaka2011 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ปรับปรุงเพิ่ม
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล เมือง
{{กล่องข้อมูล นิคม
| name = เขตวัลลูน
| name = เขตวัลลูน
| native_name = Région wallonne {{fr icon}}<br />Wallonische Region {{de icon}}
| native_name = Région wallonne {{fr icon}}<br />Wallonische Region {{de icon}}
| native_name_lang = <!-- ISO 639-2 code e.g. "fr" for French. If more than one, use {{lang}} instead -->
| native_name_lang = <!-- ISO 639-2 code e.g. "fr" for French. If more than one, use {{lang}} instead -->
| other_name = {{native name|nl|Waals gewest}}<br />{{native name|wa|Redjon walone}}<br />{{native name|lb|Wallounesch Regioun}}
| settlement_type = [[การแบ่งเขตการปกครองในเบลเยียม|เขตภูมิภาคในเบลเยียม]]
| settlement_type = [[การแบ่งเขตการปกครองในเบลเยียม|เขตภูมิภาคในเบลเยียม]]
| image_flag = Flag of Wallonia.svg
| image_flag = Flag of Wallonia.svg
บรรทัด 11: บรรทัด 12:
| mapsize =
| mapsize =
| image_map1 = WalloniëProvincies.png
| image_map1 = WalloniëProvincies.png
| latd = |latm = |lats = |latNS =
| latd = 50 |latm = 30 |lats = 0 |latNS = N
| longd = |longm = |longs = |longEW =
| longd = 4 |longm = 45 |longs = 0 |longEW = E
| coordinates_display = inline,title
| coordinates_display = inline,title
| subdivision_type = [[รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง|ประเทศ]]
| subdivision_type = [[รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง|ประเทศ]]
บรรทัด 20: บรรทัด 21:
| seat = [[นามูร์]]
| seat = [[นามูร์]]
| leader_title = มุขมนตรี
| leader_title = มุขมนตรี
| leader_name = [[Willy Borsus|วิลลี่ บอร์ซัส]]
| leader_name = [[Elio Di Rupo|เอลิโอ ดิ รูโป]]
| leader_title1 = สภา
| leader_title1 = สภา
| leader_name1 = [[รัฐสภาวัลลูน]]
| leader_name1 = [[รัฐสภาวัลลูน]]
| area_footnotes = <ref name="auto1">{{Cite web|url=https://bestat.statbel.fgov.be/bestat/crosstable.xhtml?view=90c1e218-dc4f-4827-824d-9b25abfefe59|title=be.STAT|website=bestat.statbel.fgov.be}}</ref>
| area_footnotes =
| area_total_km2 = 16844
| area_total_km2 = 16901
| population_footnotes = <ref name="auto">{{Cite web|url=https://statbel.fgov.be/nl/themas/bevolking/structuur-van-de-bevolking|title=Structuur van de bevolking &#124; Statbel|website=statbel.fgov.be}}</ref>
| population_footnotes =
| population_total = 3546329
| population_total = 3633795
| population_density_km2 = auto
| population_density_km2 = auto
| population_as_of = มกราคม ค.ศ. 2012
| population_as_of = 1 มกราคม ค.ศ. 2019
| population_demonym = วัลลูน
| demographics_type1 = ลักษณะประชากร
| demographics_type1 = ลักษณะประชากร
| demographics1_footnotes = <!-- for references: use <ref> tags -->
| demographics1_footnotes = <!-- for references: use <ref> tags -->
บรรทัด 45: บรรทัด 47:
}}
}}


'''เขตวัลลูน''' ({{lang-fr|Région wallonne}}&thinsp;; {{lang-de|Wallonische Region}}&thinsp;; {{lang-nl|Wallonië }}&thinsp;) เรียกอีกอย่างว่า '''"วาโลเนีย"''' เป็นเขตการปกครองตามรัฐธรรมนูญของ[[ประเทศเบลเยียม]] ร่วมกับ[[เขตฟลามส์]]และ[[เขตเมืองหลวงบรัสเซลส์]] มีเนื้อที่ 55% ของเนื้อที่ประเทศ แต่มีประชากรเป็นอันดับที่ 3 แม้ว่าประชากรส่วนใหญ่พูด[[ภาษาฝรั่งเศส]] แต่เขตวัลลูนก็มิได้รวมเข้ากับ'''[[ชุมชนฝรั่งเศสแห่งเบลเยียม]]'''เหมือนในกรณีของ[[เขตฟลามส์]]ซึ่งรวมเป็นหนึ่งเดียวกันกับ[[ชุมชนฟลามส์]] นอกจากนี้ในเขตวัลลูนยังมี'''ประชาคมผู้ใช้[[ภาษาเยอรมัน]]''' ซึ่งอยู่ในทิศตะวันออกที่มีสภาแยกดูแลในด้านการศึกษาและวัฒนธรรมโดยเฉพาะ เช่นเดียวกับเขตอื่น ๆ เขตวัลลูนมีสภาและรัฐบาลดูแลกิจการภายในเขต ตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เมืองหลวงของเขตคือ[[นามูร์]] มีภาษาราชการคือภาษาฝรั่งเศสและภาษาเยอรมัน


ในช่วง[[การปฏิวัติอุตสาหกรรม]] วาโลเนียนั้นเป็นเพียงอันดับสองรองจาก[[สหราชอาณาจักร]]ในด้านอุตสาหกรรมหนัก โดยเฉพาะการถลุงเหล็กและถ่านหิน ซึ่งนำมาซึ่งความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจของเขตภูมิภาควัลลูน ตั้งแต่สมัย[[คริสต์ศตวรรษที่ 19]] จนถึงช่วงกลาง[[คริสต์ศตวรรษที่ 20]] วัลลูนถือเป็นส่วนครึ่งหนึ่งของเบลเยียมที่ร่ำรวยที่สุด แต่ตั้งแต่[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ทำให้ความสำคัญของอุตสาหกรรมหนักลดลงอย่างมาก ทำให้เขตฟลามส์นั้นก้าวหน้าขึ้นกว่าเขตวัลลูนในด้านเศรษฐกิจ ในปัจจุบันเขตวัลลูนนั้นมีปัญหาด้านอัตราผู้ไม่มีงานทำค่อนข้างสูง และยังมี[[ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ]]ต่อหัวประชากร (GDP per Capita) ต่ำกว่า[[เขตฟลามส์]]อย่างมีนัยสำคัญ เนื่องจากปัญหาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและภาษาของทั้งสองภูมิภาคหลักของเบลเยียมนั้นได้นำพามาซึ่งปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองในระดับประเทศในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา
'''เขตวัลลูน''' ({{lang-fr|Région wallonne}}; {{lang-de|Wallonische Region}}; {{lang-nl|Wallonië }}) เรียกอีกอย่างว่า '''"วาโลเนีย"''' เป็นเขตการปกครองตามรัฐธรรมนูญของ[[ประเทศเบลเยียม]] ร่วมกับ[[เขตฟลามส์]]และ[[เขตเมืองหลวงบรัสเซลส์]] มีเนื้อที่ 55% ของเนื้อที่ประเทศ แต่มีประชากรเป็นอันดับที่ 3 แม้ว่าประชากรส่วนใหญ่พูด[[ภาษาฝรั่งเศส]] แต่เขตวัลลูนก็มิได้รวมเข้ากับ'''[[ชุมชนฝรั่งเศสแห่งเบลเยียม]]'''เหมือนในกรณีของ[[เขตฟลามส์]]ซึ่งรวมเป็นหนึ่งเดียวกันกับ[[ชุมชนฟลามส์]] นอกจากนี้ในเขตวัลลูนยังมี'''ประชาคมผู้ใช้[[ภาษาเยอรมัน]]''' ซึ่งอยู่ในทิศตะวันออกที่มีสภาแยกดูแลในด้านการศึกษาและวัฒนธรรมโดยเฉพาะ เช่นเดียวกับเขตอื่น ๆ เขตวัลลูนมีสภาและรัฐบาลดูแลกิจการภายในเขต ตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เมืองหลวงของเขตคือ[[นามูร์]] มีภาษาราชการคือภาษาฝรั่งเศสและภาษาเยอรมัน


เมืองหลวงของวาโลเนียตั้งอยู่ที่[[นามูร์]] แต่เขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดนั้นคือ[[ลีแยฌ]] ส่วนเขตเทศบาลเดียวที่มีประชากรมากที่สุดคือ [[ชาร์เลอรัว]] เมืองใหญ่ต่าง ๆ ในวาโลเนียนั้นตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำซอมบร์ และ[[แม่น้ำเมิส]] อันประกอบด้วยจำนวนประชากรทั้งหมดกว่าสองในสามของเขต อันเป็นเขตอุตสาหกรรมในอดีตของเบลเยียม ด้านทิศเหนือนั้นเป็นที่ราบลุ่มภาคกลางของเบลเยียม ซึ่งเหมือนกับเขตฟลามส์ อันมีความอุดมสมบูรณ์และเหมาะสมต่อการทำเกษตรกรรม ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้นั้นเป็นเขตอาร์เดนน์ ซึ่งประกอบด้วยภูเขาสลับอย่างหนาแน่น พรมแดนของเขตวัลลูนทางด้านเหนือนั้นติดกับ[[เขตฟลามส์]] และ[[ประเทศเนเธอร์แลนด์]] ด้านใต้และตะวันตกจรดกับ[[ประเทศฝรั่งเศส]] ส่วนทิศตะวันออกนั้นติดกับ[[ประเทศเยอรมนี]] และ[[ประเทศลักเซมเบิร์ก]]
ในช่วง[[การปฏิวัติอุตสาหกรรม]] วาโลเนียนั้นเป็นเพียงอันดับสองรองจาก[[สหราชอาณาจักร]]ในด้านอุตสาหกรรมหนัก โดยเฉพาะการถลุงเหล็กและถ่านหิน ซึ่งนำมาซึ่งความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจของเขตภูมิภาควัลลูน ตั้งแต่สมัย[[คริสต์ศตวรรษที่ 19]] จนถึงช่วงกลาง[[คริสต์ศตวรรษที่ 20]] วัลลูนถือเป็นครึ่งหนึ่งของเบลเยียมที่ร่ำรวยที่สุด แต่ตั้งแต่[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ทำให้ความสำคัญของอุตสาหกรรมหนักลดลงอย่างมาก ทำให้เขตฟลามส์นั้นก้าวหน้าขึ้นกว่าเขตวัลลูนในด้านเศรษฐกิจ ในปัจจุบันเขตวัลลูนนั้นมีปัญหาด้านอัตราผู้ไม่มีงานทำค่อนข้างสูง และยังมี[[ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ]]ต่อหัวประชากร (GDP per Capita) ต่ำกว่า[[เขตฟลามส์]]อย่างมีนัยสำคัญ เนื่องจากปัญหาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและภาษาของทั้งสองภูมิภาคหลักของเบลเยียมนั้นได้นำพามาซึ่งปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองในระดับประเทศในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา

เมืองหลวงของวาโลเนียตั้งอยู่ที่[[นามูร์]] แต่เขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดนั้นคือ[[ลีแยฌ]] ส่วนเขตเทศบาลเดียวที่มีประชากรมากที่สุดคือ [[ชาร์เลอรัว]] เมืองใหญ่ต่างๆในวาโลเนียนั้นตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำซอมบร์ และ[[แม่น้ำเมิส]] อันประกอบด้วยจำนวนประชากรทั้งหมดกว่าสองในสามของเขต อันเป็นเขตอุตสาหกรรมในอดีตของเบลเยียม ด้านทิศเหนือนั้นเป็นที่ราบลุ่มภาคกลางของเบลเยียม ซึ่งเหมือนกับเขตฟลามส์ อันมีความอุดมสมบูรณ์และเหมาะสมต่อการทำเกษตรกรรม ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้นั้นเป็นเขตอาร์เดนน์ ซึ่งประกอบด้วยภูเขาสลับอย่างหนาแน่น พรมแดนของเขตวัลลูนทางด้านเหนือนั้นติดกับ[[เขตฟลามส์]] และ[[ประเทศเนเธอร์แลนด์]] ด้านใต้และตะวันตกจรดกับ[[ประเทศฝรั่งเศส]] ส่วนทิศตะวันออกนั้นติดกับ[[ประเทศเยอรมนี]] และ[[ประเทศลักเซมเบิร์ก]]


==เขตการปกครอง==
==เขตการปกครอง==
บรรทัด 69: บรรทัด 70:
* [[แบรน-ลัลเลอ]] (38,748 คน)
* [[แบรน-ลัลเลอ]] (38,748 คน)
* [[ชาเตอเล]] (36,131 คน)
* [[ชาเตอเล]] (36,131 คน)

== ดูเพิ่ม ==
* [[ชุมชนฝรั่งเศสแห่งเบลเยียม]]


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
บรรทัด 76: บรรทัด 80:
* Johannes Kramer (1984). Zweisprachigkeit in den Benelux-ländern (in German). Buske Verlag. ISBN 3-87118-597-3.
* Johannes Kramer (1984). Zweisprachigkeit in den Benelux-ländern (in German). Buske Verlag. ISBN 3-87118-597-3.


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== ดูเพิ่ม ==
* {{คอมมอนส์-หมวดหมู่-บรรทัด|Wallonia|เขตวัลลูน}}
* [[ชุมชนฝรั่งเศสแห่งเบลเยียม]]



{{เขตการปกครองในประเทศเบลเยียม}}
{{เขตการปกครองในประเทศเบลเยียม}}
{{Authority control}}
[[หมวดหมู่:หน่วยการบริหารของประเทศเบลเยียม|ขเขตวัลลูน]]
[[หมวดหมู่:หน่วยการบริหารของประเทศเบลเยียม|ขเขตวัลลูน]]
[[หมวดหมู่:เขตวัลลูน]]
[[หมวดหมู่:เขตวัลลูน]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:00, 4 พฤษภาคม 2564

เขตวัลลูน

Région wallonne (ฝรั่งเศส)
Wallonische Region (เยอรมัน)

Waals gewest  (ดัตช์)
Redjon walone  (วัลลูน)
Wallounesch Regioun  (ลักเซมเบิร์ก)
ธงของเขตวัลลูน
ธง
ตราราชการของเขตวัลลูน
ตราอาร์ม
เพลง: "Le Chant des Wallons"
ที่ตั้งของเขตวัลลูน
ที่ตั้งของเขตวัลลูน
พิกัด: 50°30′0″N 4°45′0″E / 50.50000°N 4.75000°E / 50.50000; 4.75000
ประเทศเบลเยียม
เมืองหลวงนามูร์
การปกครอง
 • มุขมนตรีเอลิโอ ดิ รูโป
 • สภารัฐสภาวัลลูน
พื้นที่[1]
 • ทั้งหมด16,901 ตร.กม. (6,526 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (1 มกราคม ค.ศ. 2019)[2]
 • ทั้งหมด3,633,795 คน
 • ความหนาแน่น220 คน/ตร.กม. (560 คน/ตร.ไมล์)
เดมะนิมวัลลูน
ลักษณะประชากร
 • ภาษาราชการฝรั่งเศส, เยอรมัน (และ ดัตช์ในเขตเทศบาลที่มีที่อำนวยความสะดวกด้านภาษา)[3]
รหัส ISO 3166BE-WAL
Celebration Dayวันอาทิตย์ที่ 3 ในเดือนกันยายน
เว็บไซต์www.wallonie.be

เขตวัลลูน (ฝรั่งเศส: Région wallonne ; เยอรมัน: Wallonische Region ; ดัตช์: Wallonië ) เรียกอีกอย่างว่า "วาโลเนีย" เป็นเขตการปกครองตามรัฐธรรมนูญของประเทศเบลเยียม ร่วมกับเขตฟลามส์และเขตเมืองหลวงบรัสเซลส์ มีเนื้อที่ 55% ของเนื้อที่ประเทศ แต่มีประชากรเป็นอันดับที่ 3 แม้ว่าประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส แต่เขตวัลลูนก็มิได้รวมเข้ากับชุมชนฝรั่งเศสแห่งเบลเยียมเหมือนในกรณีของเขตฟลามส์ซึ่งรวมเป็นหนึ่งเดียวกันกับชุมชนฟลามส์ นอกจากนี้ในเขตวัลลูนยังมีประชาคมผู้ใช้ภาษาเยอรมัน ซึ่งอยู่ในทิศตะวันออกที่มีสภาแยกดูแลในด้านการศึกษาและวัฒนธรรมโดยเฉพาะ เช่นเดียวกับเขตอื่น ๆ เขตวัลลูนมีสภาและรัฐบาลดูแลกิจการภายในเขต ตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เมืองหลวงของเขตคือนามูร์ มีภาษาราชการคือภาษาฝรั่งเศสและภาษาเยอรมัน

ในช่วงการปฏิวัติอุตสาหกรรม วาโลเนียนั้นเป็นเพียงอันดับสองรองจากสหราชอาณาจักรในด้านอุตสาหกรรมหนัก โดยเฉพาะการถลุงเหล็กและถ่านหิน ซึ่งนำมาซึ่งความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจของเขตภูมิภาควัลลูน ตั้งแต่สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 จนถึงช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 วัลลูนถือเป็นส่วนครึ่งหนึ่งของเบลเยียมที่ร่ำรวยที่สุด แต่ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 ทำให้ความสำคัญของอุตสาหกรรมหนักลดลงอย่างมาก ทำให้เขตฟลามส์นั้นก้าวหน้าขึ้นกว่าเขตวัลลูนในด้านเศรษฐกิจ ในปัจจุบันเขตวัลลูนนั้นมีปัญหาด้านอัตราผู้ไม่มีงานทำค่อนข้างสูง และยังมีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศต่อหัวประชากร (GDP per Capita) ต่ำกว่าเขตฟลามส์อย่างมีนัยสำคัญ เนื่องจากปัญหาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและภาษาของทั้งสองภูมิภาคหลักของเบลเยียมนั้นได้นำพามาซึ่งปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองในระดับประเทศในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา

เมืองหลวงของวาโลเนียตั้งอยู่ที่นามูร์ แต่เขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดนั้นคือลีแยฌ ส่วนเขตเทศบาลเดียวที่มีประชากรมากที่สุดคือ ชาร์เลอรัว เมืองใหญ่ต่าง ๆ ในวาโลเนียนั้นตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำซอมบร์ และแม่น้ำเมิส อันประกอบด้วยจำนวนประชากรทั้งหมดกว่าสองในสามของเขต อันเป็นเขตอุตสาหกรรมในอดีตของเบลเยียม ด้านทิศเหนือนั้นเป็นที่ราบลุ่มภาคกลางของเบลเยียม ซึ่งเหมือนกับเขตฟลามส์ อันมีความอุดมสมบูรณ์และเหมาะสมต่อการทำเกษตรกรรม ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้นั้นเป็นเขตอาร์เดนน์ ซึ่งประกอบด้วยภูเขาสลับอย่างหนาแน่น พรมแดนของเขตวัลลูนทางด้านเหนือนั้นติดกับเขตฟลามส์ และประเทศเนเธอร์แลนด์ ด้านใต้และตะวันตกจรดกับประเทศฝรั่งเศส ส่วนทิศตะวันออกนั้นติดกับประเทศเยอรมนี และประเทศลักเซมเบิร์ก

เขตการปกครอง

เขตวัลลูนนั้นแบ่งการปกครองออกเป็นห้ามณฑล (Province) ได้แก่ วัลลูนบราบันต์, แอโน, ลีแยฌ, ลักเซมเบิร์ก และ นามูร์ ตามหมายเลขหนึ่งถึงห้าที่อยู่ในรูปภาพมุมบนขวา โดยแบ่งย่อยการปกครองลงไปเป็นเขตการปกครองท้องถิ่น (ฝรั่งเศส: Arrondissement administratif) จำนวน 20 เขตปกครอง อันประกอบด้วยเทศบาลทั้งหมดถึง 262 แห่ง

เมืองสำคัญในเขตวัลลูนที่มีจำนวนประชากรหนาแน่นได้แก่[4]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "be.STAT". bestat.statbel.fgov.be.
  2. "Structuur van de bevolking | Statbel". statbel.fgov.be.
  3. Law of 1966 about language in Belgium
  4. Belgium: largest cities and towns and statistics of their population

บรรณานุกรม

  • Johannes Kramer (1984). Zweisprachigkeit in den Benelux-ländern (in German). Buske Verlag. ISBN 3-87118-597-3.

แหล่งข้อมูลอื่น