ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Nitisart Jungtrakungrat (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขปี พ.ศ. ให้เป็นแบบปัจจุบัน
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
| พระอิสริยยศ = พระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 3
| พระอิสริยยศ = พระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 3
| วันประสูติ = 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2365
| วันประสูติ = 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2365
| สิ้นพระชนม์ = 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429
| สิ้นพระชนม์ = 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2430
| พระบิดา = [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| พระบิดา = [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| พระมารดา = [[เจ้าจอมมารดาฉิม ในรัชกาลที่ 3]]
| พระมารดา = [[เจ้าจอมมารดาฉิม ในรัชกาลที่ 3]]
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
}}
}}


'''พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ''' (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2365 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่ 36 ใน[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]กับ[[เจ้าจอมมารดาฉิม ในรัชกาลที่ 3|เจ้าจอมมารดาฉิม]]
'''พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ''' (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2365 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2430) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่ 36 ใน[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]กับ[[เจ้าจอมมารดาฉิม ในรัชกาลที่ 3|เจ้าจอมมารดาฉิม]]


== พระประวัติ ==
== พระประวัติ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:39, 14 เมษายน 2564

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ
พระองค์เจ้าฉวีวรรณ
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 3
ประสูติ5 พฤษภาคม พ.ศ. 2365
สิ้นพระชนม์25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2430
ราชวงศ์จักรี
พระบิดาพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระมารดาเจ้าจอมมารดาฉิม ในรัชกาลที่ 3

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2365 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2430) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่ 36 ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวกับเจ้าจอมมารดาฉิม

พระประวัติ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ ประสูติเมื่อวันอาทิตย์ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2365[1] เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวกับเจ้าจอมมารดาฉิม มีพระขนิษฐาร่วมเจ้าจอมมารดา 1 พระองค์คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากินรี

ในสมัยรัชกาลที่ 3 พระองค์เจ้ากินรี พระเชษฐภคินีทรงรับนายกุหลาบเป็นบุตรบุญธรรม และนำเข้ามาเลี้ยงในพระบรมมหาราชวัง พระองค์เจ้าฉวีวรรณก็ทรงมีส่วนในการอุปการะนายกุหลาบร่วมกับพระเชษฐภคินีด้วย พระองค์เจ้าฉวีวรรณช่วยพระองค์เจ้ากินรีเลี้ยงดูนายกุหลาบ จนนายกุหลาบครบอายุโกนจุก ต้องออกจากพระบรมมหาราชวังมาตามขนบธรรมเนียมประเพณี เมื่อนายกุหลาบแต่งงานมีบุตรธิดาหลายคน เขาก็ถวายธิดาหลายคนเป็นนางข้าหลวงในตำหนักของพระองค์เจ้ากินรีและพระองค์เจ้าฉวีวรรณ คนในตำหนักเรียกเด็กหญิงเหล่านี้ว่า "หลานเสด็จ"[2]

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 5 เมื่อวันศุกร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429 พระชันษา 65 ปี พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุท้องสนามหลวง วันพฤหัสบดีที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2430[1]

พระอิสริยยศ

  • หม่อมเจ้าฉวีวรรณ (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2365 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367)
  • พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ (21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394)
  • พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ (2 เมษายน พ.ศ. 2394 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429)
  • พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ (พระนามหลังการสิ้นพระชนม์สถาปนาในรัชกาลที่ 6)

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 กรมศิลปากร. สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ (2554). ราชสกุลวงศ์ (PDF). กรุงเทพฯ: สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร. p. 45.
  2. ก.ศ.ร กุหลาบ