ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โครงการภาคีความร่วมมืออวกาศไทย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AekwatNs (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: โครงการภาคีความร่วมมืออวกาศไทย (Thai Space Consortium : TSC) เป็นโครงการบูรณา...
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
 
AekwatNs (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
โครงการภาคีความร่วมมืออวกาศไทย (Thai Space Consortium : TSC) เป็นโครงการบูรณาการร่วมกันของหน่วยงานที่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ที่มีระดับความพร้อมทางวิศวกรรมและเทคโนโลยีในระดับสูง 3 หน่วยงานหลักได้แก่ สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน ) (สซ.) สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสารสนเทศ (องค์การมหาชน) (สทอภ.) และสถาบันวิจัยดาราศาสตร์ (องค์การมหาชน) (สดร.)ร่วมด้วยมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยอื่น ๆ กว่า 10 หน่วยงานที่มีศักยภาพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและพัฒนาดาวเทียมขนาดเล็กขึ้นด้วยองค์ความรู้และความเชี่ยวชาญในแต่ละด้านของหน่วยงานงานภายในประเทศ และส่งเสริมให้เกิดอุตสาหกรรมอวกาศในประเทศอย่างยั่งยืน
โครงการภาคีความร่วมมืออวกาศไทย (Thai Space Consortium : TSC) เป็นโครงการบูรณาการร่วมกันของหน่วยงานที่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ที่มีระดับความพร้อมทางวิศวกรรมและเทคโนโลยีในระดับสูง 3 หน่วยงานหลักได้แก่ สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน ) (สซ.) สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสารสนเทศ (องค์การมหาชน) (สทอภ.) และสถาบันวิจัยดาราศาสตร์ (องค์การมหาชน) (สดร.)ร่วมด้วยมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยอื่น ๆ กว่า 10 หน่วยงานที่มีศักยภาพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและพัฒนาดาวเทียมขนาดเล็กขึ้นด้วยองค์ความรู้และความเชี่ยวชาญในแต่ละด้านของหน่วยงานงานภายในประเทศ และส่งเสริมให้เกิดอุตสาหกรรมอวกาศในประเทศอย่างยั่งยืน
==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
*[https://www.slri.or.th/th/slrinews/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B6%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B9%83%E0%B8%99-mission-%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87-thai-space-consortium-%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89-%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A1.html หนึ่งใน MISSION ของโครงการของ Thai Space Consortium ที่ไม่มีไม่ได้ "ห้องปฏิบัติการจำลองสภาวะอวกาศเพื่อการทดสอบดาวเทียม],[[สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน]],สืบค้นเมื่อ 12/04/2564.

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:19, 12 เมษายน 2564

โครงการภาคีความร่วมมืออวกาศไทย (Thai Space Consortium : TSC) เป็นโครงการบูรณาการร่วมกันของหน่วยงานที่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ที่มีระดับความพร้อมทางวิศวกรรมและเทคโนโลยีในระดับสูง 3 หน่วยงานหลักได้แก่ สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน ) (สซ.) สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสารสนเทศ (องค์การมหาชน) (สทอภ.) และสถาบันวิจัยดาราศาสตร์ (องค์การมหาชน) (สดร.)ร่วมด้วยมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยอื่น ๆ กว่า 10 หน่วยงานที่มีศักยภาพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและพัฒนาดาวเทียมขนาดเล็กขึ้นด้วยองค์ความรู้และความเชี่ยวชาญในแต่ละด้านของหน่วยงานงานภายในประเทศ และส่งเสริมให้เกิดอุตสาหกรรมอวกาศในประเทศอย่างยั่งยืน

อ้างอิง