ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความกดอากาศ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
บรรทัด 3: บรรทัด 3:


== ความกดอากาศมาตรฐาน ==
== ความกดอากาศมาตรฐาน ==
มีสถานะเป็นก๊าซ แต่อากาศก็มีน้ำหนักเช่นเดียวกับของแข็งและของเหลว เราเรียกน้ำหนักซึ่งกดทับกันลงมานี้ว่า “ความกดอากาศ” (Air pressure) ความกดอากาศจะมีความแตกต่างกับแรงที่เกิดจาก “L” สีแดง เป็นสัญลักษณ์
รถไฟบ๊อบไปเที่ยวในฟาร์มอีอาอีอาโย ตรงนั้นก็ฮีๆ ตรงนี้ก็ฮีๆ[[ไฟล์:Air pressure crushing a plastic bottle p1180559.jpg|thumb|150px|ขวดพลาสติกนี้ถูกปิดฝา ตอนอยู่ที่ระดับความสูงประมาณ 2,000 เมตร และเมื่อถูกนำลงมายังระดับน้ำทะเล มันจะถูกบีบอัดโดยความกดอากาศที่สูงกว่า]]
นักอุตุนิยมวิทยาใช้เครื่องมือ ชื่อว่า "บารอมิเตอร์" อย่างละเอียดสำหรับวัดความกดอากาศ หน่วยที่ใช้วัดความกดของอากาศนั้นอาจจะเป็นความสูงของปรอทเป็นนิ้วหรือเซนติเมตร ปอนด์ต่อตารางนิ้ว หรือกิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตรก็ได้ แต่ในปัจจุบันส่วนมากนิยมใช้หน่วยเป็นมิลลิบาร์ (millibar) เพราะเป็นหน่วยที่สะดวกกว่า ซึ่งเราจะเปรียบเทียบกันได้ตามหลักการคำนวณต่อไปนี้

== ความกดอากาศตามความสูง ==
[[ไฟล์:Air pressure crushing a plastic bottle p1180559.jpg|thumb|150px|ขวดพลาสติกนี้ถูกปิดฝา ตอนอยู่ที่ระดับความสูงประมาณ 2,000 เมตร และเมื่อถูกนำลงมายังระดับน้ำทะเล มันจะถูกบีบอัดโดยความกดอากาศที่สูงกว่า]]


{| class="wikitable"
{| class="wikitable"

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:41, 10 เมษายน 2564

ความกดอากาศ (อังกฤษ: Atmospheric pressure) หรือที่รู้จักกันในชื่อความดันบรรยากาศและความดันอากาศ เป็นความดันภายใต้ชั้นบรรยากาศของโลก โดยทั่วไปแล้วความกดอากาศจะมีค่าใกล้เคียงกับความกดอากาศที่เกิดจากน้ำหนักของอากาศอยู่บนจุดใดๆ ซึ่งหมายความว่า จุดที่มีความกดอากาศต่ำจะมีอากาศที่มีมวลต่ำจะอยู่ข้างบนพื้นที่ ด้วยเหตุผลแบบเดียวกัน ความกดอากาศจะต่ำลงเมื่อระดับความสูงเพิ่มขึ้น บรรยากาศมาตรฐาน (สัญลักษณ์: atm) คือหน่วยของแรงดันที่กำหนดไว้ที่ 101,325 Pa (1,013.25 hPa หรือ 1,013.25 mbar) ซึ่งเทียบเท่ากับ 760 mmHg, 29.9212 นิ้วปรอท หรือ 14.696 psi[1] หน่วย atm นั้นเทียบเท่ากับความดันบรรยากาศระดับน้ำทะเลเฉลี่ยบนโลก ดังนั้นความดันบรรยากาศของโลกที่ระดับน้ำทะเลอยู่ที่ประมาณ 1 atm

ความกดอากาศมาตรฐาน

มีสถานะเป็นก๊าซ แต่อากาศก็มีน้ำหนักเช่นเดียวกับของแข็งและของเหลว เราเรียกน้ำหนักซึ่งกดทับกันลงมานี้ว่า “ความกดอากาศ” (Air pressure) ความกดอากาศจะมีความแตกต่างกับแรงที่เกิดจาก “L” สีแดง เป็นสัญลักษณ์ นักอุตุนิยมวิทยาใช้เครื่องมือ ชื่อว่า "บารอมิเตอร์" อย่างละเอียดสำหรับวัดความกดอากาศ หน่วยที่ใช้วัดความกดของอากาศนั้นอาจจะเป็นความสูงของปรอทเป็นนิ้วหรือเซนติเมตร ปอนด์ต่อตารางนิ้ว หรือกิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตรก็ได้ แต่ในปัจจุบันส่วนมากนิยมใช้หน่วยเป็นมิลลิบาร์ (millibar) เพราะเป็นหน่วยที่สะดวกกว่า ซึ่งเราจะเปรียบเทียบกันได้ตามหลักการคำนวณต่อไปนี้

ความกดอากาศตามความสูง

ขวดพลาสติกนี้ถูกปิดฝา ตอนอยู่ที่ระดับความสูงประมาณ 2,000 เมตร และเมื่อถูกนำลงมายังระดับน้ำทะเล มันจะถูกบีบอัดโดยความกดอากาศที่สูงกว่า
เศษส่วนของ 1 atm ความสูงโดยเฉลี่ย
(เมตร) (ฟุต)
1 0 0
1/2 5,486 18,000
1/5 8,376 27,480
1/10 16,132 52,926
1/100 30,901 101,381
1/1000 48,467 159,013
1/10000 69,464 227,899
1/100000 96,282 283,076

อ้างอิง

  1. องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ. Manual of the ICAO Standard Atmosphere, Doc 7488-CD, Third Edition, 1993. ISBN 92-9194-004-6.