ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระต่ายป่า"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Meows21 (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขคำผิด
 
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
'''กระต่ายป่าพม่า'''หรือ'''กระต่ายป่าไทย''' ({{lang-en|Burmese hare, Siamese hare}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Lepus peguensis}}) เป็น[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]ในวงศ์ [[Leporidae]] ชนิดหนึ่ง มีลักษณะเด่นคือ มีหูยาว สามารถมองเห็นได้แต่ไกล มีขนขึ้นบริเวณกระพุ้งแก้มและมีฟันหน้าของขากรรไกรบน 4 ซี่ เรียงซ้อนกัน 2 คู่ ฟันคู่หลังเล็กกว่าคู่หน้า ขาคู่หลังยาวกว่าขาคู่หน้า เท้าหน้ามี 5 นิ้ว เท้าหลังมี 4 นิ้ว ใต้ฝ่าเท้ามีขนปกคลุมหนาแน่นช่วยให้เคลื่อนไหวได้โดยไม่มีเสียง หางสั้นเป็นกระจุก ขนบริเวณหลังเป็นสีน้ำตาลปนเทา ปลายขนมีสีน้ำตาลเข้ม มีความยาวลำตัวและหัว 44-50 เซนติเมตร ความยาวหาง 6.5-8.5 เซนติเมตร น้ำหนัก 1.35-7 กิโลกรัม
'''กระต่ายป่าพม่า'''หรือ'''กระต่ายป่าไทย''' ({{lang-en|Burmese hare, Siamese hare}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Lepus peguensis}}) เป็น[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]ในวงศ์ [[Leporidae]] ชนิดหนึ่ง มีลักษณะเด่นคือ มีหูยาว สามารถมองเห็นได้แต่ไกล มีขนขึ้นบริเวณกระพุ้งแก้มและมีฟันหน้าของขากรรไกรบน 4 ซี่ เรียงซ้อนกัน 2 คู่ ฟันคู่หลังเล็กกว่าคู่หน้า ขาคู่หลังยาวกว่าขาคู่หน้า เท้าหน้ามี 5 นิ้ว เท้าหลังมี 4 นิ้ว ใต้ฝ่าเท้ามีขนปกคลุมหนาแน่นช่วยให้เคลื่อนไหวได้โดยไม่มีเสียง หางสั้นเป็นกระจุก ขนบริเวณหลังเป็นสีน้ำตาลปนเทา ปลายขนมีสีน้ำตาลเข้ม มีความยาวลำตัวและหัว 44-50 เซนติเมตร ความยาวหาง 6.5-8.5 เซนติเมตร น้ำหนัก 1.35-7 กิโลกรัม


มีการกระจายพันธุ์ใน[[กัมพูชา]], [[ลาว]], [[พม่า]], [[ไทย]], และ[[เวียดนาม]] อาศัยในป่าโปร่ง, ป่าเต็งรัง,และป่าเบญจพรรณ ออกหากินในเวลากลางคืนตามพง[[หญ้า]]ที่รกชัน ออกหากินตามลำพังในอาณาบริเวณของตัวเอง โดย[[หญ้า]]เป็นอาหารหลัก ยอดไม้หรือผลไม้ที่ร่วงจากต้นเป็นอาหารเสริม ในบางครั้งอาจแทะ[[เขากวาง]]ที่ผลัดทิ้งเพื่อเพิ่ม[[แคลเซียม]]ด้วย กระต่ายป่าพม่าตัวผู้มักต่อสู้เพื่อแย่งชิงตัวเมียในฤดูผสมพันธุ์ด้วยการกระโดดถีบหรือกัดด้วยความรุนแรง
มีการกระจายพันธุ์ใน[[กัมพูชา]], [[ลาว]], [[พม่า]], [[ไทย]], และ[[เวียดนาม]] อาศัยในป่าโปร่ง, ป่าเต็งรัง,และป่าเบญจพรรณ ออกหากินในเวลากลางคืนตามพง[[หญ้า]]ที่รกชัฏ ออกหากินตามลำพังในอาณาบริเวณของตัวเอง โดย[[หญ้า]]เป็นอาหารหลัก ยอดไม้หรือผลไม้ที่ร่วงจากต้นเป็นอาหารเสริม ในบางครั้งอาจแทะ[[เขากวาง]]ที่ผลัดทิ้งเพื่อเพิ่ม[[แคลเซียม]]ด้วย กระต่ายป่าพม่าตัวผู้มักต่อสู้เพื่อแย่งชิงตัวเมียในฤดูผสมพันธุ์ด้วยการกระโดดถีบหรือกัดด้วยความรุนแรง


กระต่ายป่าพม่าตัวเมียใช้เวลาตั้งท้อง 35-40 วัน ออกลูกครั้งละ 1-7 ตัว โดยการขุดโพรงใต้ดินอยู่ ลูกกระต่ายป่าที่เกิดใหม่จะมีขนปกคลุมตัว และสามารถลืมตาได้ทันที <ref>{{อ้างหนังสือ
กระต่ายป่าพม่าตัวเมียใช้เวลาตั้งท้อง 35-40 วัน ออกลูกครั้งละ 1-7 ตัว โดยการขุดโพรงใต้ดินอยู่ ลูกกระต่ายป่าที่เกิดใหม่จะมีขนปกคลุมตัว และสามารถลืมตาได้ทันที <ref>{{อ้างหนังสือ

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 08:47, 7 เมษายน 2564

กระต่ายป่าพม่า
ในอุทยานแห่งชาติกุยบุรี
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Mammalia
อันดับ: Lagomorpha
วงศ์: Leporidae
สกุล: Lepus
สปีชีส์: L.  peguensis
ชื่อทวินาม
Lepus peguensis
Blyth, 1855
แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์ของกระต่ายป่าพม่า
ชื่อพ้อง[2]
  • Lepus siamensis Bonhote, 1902

กระต่ายป่าพม่าหรือกระต่ายป่าไทย (อังกฤษ: Burmese hare, Siamese hare; ชื่อวิทยาศาสตร์: Lepus peguensis) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Leporidae ชนิดหนึ่ง มีลักษณะเด่นคือ มีหูยาว สามารถมองเห็นได้แต่ไกล มีขนขึ้นบริเวณกระพุ้งแก้มและมีฟันหน้าของขากรรไกรบน 4 ซี่ เรียงซ้อนกัน 2 คู่ ฟันคู่หลังเล็กกว่าคู่หน้า ขาคู่หลังยาวกว่าขาคู่หน้า เท้าหน้ามี 5 นิ้ว เท้าหลังมี 4 นิ้ว ใต้ฝ่าเท้ามีขนปกคลุมหนาแน่นช่วยให้เคลื่อนไหวได้โดยไม่มีเสียง หางสั้นเป็นกระจุก ขนบริเวณหลังเป็นสีน้ำตาลปนเทา ปลายขนมีสีน้ำตาลเข้ม มีความยาวลำตัวและหัว 44-50 เซนติเมตร ความยาวหาง 6.5-8.5 เซนติเมตร น้ำหนัก 1.35-7 กิโลกรัม

มีการกระจายพันธุ์ในกัมพูชา, ลาว, พม่า, ไทย, และเวียดนาม อาศัยในป่าโปร่ง, ป่าเต็งรัง,และป่าเบญจพรรณ ออกหากินในเวลากลางคืนตามพงหญ้าที่รกชัฏ ออกหากินตามลำพังในอาณาบริเวณของตัวเอง โดยหญ้าเป็นอาหารหลัก ยอดไม้หรือผลไม้ที่ร่วงจากต้นเป็นอาหารเสริม ในบางครั้งอาจแทะเขากวางที่ผลัดทิ้งเพื่อเพิ่มแคลเซียมด้วย กระต่ายป่าพม่าตัวผู้มักต่อสู้เพื่อแย่งชิงตัวเมียในฤดูผสมพันธุ์ด้วยการกระโดดถีบหรือกัดด้วยความรุนแรง

กระต่ายป่าพม่าตัวเมียใช้เวลาตั้งท้อง 35-40 วัน ออกลูกครั้งละ 1-7 ตัว โดยการขุดโพรงใต้ดินอยู่ ลูกกระต่ายป่าที่เกิดใหม่จะมีขนปกคลุมตัว และสามารถลืมตาได้ทันที [3]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Lepus peguensis". IUCN Red List of Threatened Species. Version 2014.2. 2008. สืบค้นเมื่อ 2014-10-01.
  2. Lagomorph Specialist Group 1996. Lepus peguensis. 2006 IUCN Red List of Threatened Species. Downloaded on 31 July 2007.
  3. ชุติอร กาญวัฒนกิจ. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในประเทศไทยและภูมิภาคอินโดจีน. กรุงเทพฯ : กองทุนสัตว์ป่าโลก. สำนักงานประเทศไทย, 2543. 256 หน้า. หน้า 150. ISBN 974-87081-5-2

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Lepus peguensis ที่วิกิสปีชีส์