ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
SieBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: da:Nygotik
บรรทัด 20: บรรทัด 20:
[[ca:Neogòtic]]
[[ca:Neogòtic]]
[[cs:Novogotika]]
[[cs:Novogotika]]
[[da:Nygotik]]
[[de:Neugotik]]
[[de:Neugotik]]
[[en:Gothic Revival architecture]]
[[en:Gothic Revival architecture]]
[[es:Neogótico]]
[[es:Neogótico]]
[[fa:معماری گوتیک باز سازی شده]]
[[fa:معماری گوتیک باز سازی شده]]
[[fi:Uusgotiikka]]
[[fr:Style néogothique]]
[[fr:Style néogothique]]
[[it:Architettura neogotica]]
[[he:התחייה הגותית]]
[[he:התחייה הגותית]]
[[lt:Neogotika]]
[[hu:Neogótikus építészet]]
[[hu:Neogótikus építészet]]
[[it:Architettura neogotica]]
[[nl:Neogotiek]]
[[ja:ゴシック・リヴァイヴァル建築]]
[[ja:ゴシック・リヴァイヴァル建築]]
[[lt:Neogotika]]
[[nl:Neogotiek]]
[[no:Nygotikk]]
[[no:Nygotikk]]
[[nrm:Néo-Gothique]]
[[nrm:Néo-Gothique]]
บรรทัด 39: บรรทัด 41:
[[sk:Neogotika]]
[[sk:Neogotika]]
[[sr:Неоготика]]
[[sr:Неоготика]]
[[fi:Uusgotiikka]]
[[sv:Nygotik]]
[[sv:Nygotik]]
[[tr:Neogotik]]
[[tr:Neogotik]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:34, 3 กุมภาพันธ์ 2551

วัดโวทิฟ (Votivkirche) เป็นวัดกอธิคใหม่ที่ เวียนนา
หอวิคตอเรียที่พระราชวังเวสท์มินสเตอร์ (Victoria Tower, Palace of Westminster) ลอนดอน รายละเอียดกอธิคโดยออกัสตัส พิวจิน (Augustus Pugin

สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอธิค (ภาษาอังกฤษ: Neo-Gothic architecture หรือ Gothic Revival architecture) หรีอ สถาปัตยกรรมวิคตอเรีย (Victorian architecture) เป็นสถาปัตยกรรมที่เริ่มราวปี ค.ศ. 1840 ที่อังกฤษ เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้ที่นิยมและสนใจสถาปัตยกรรมกอธิคใหม่พยายามฟื้นฟูสถาปัตยกรรมยุคกลาง ซึ่งต่างจากสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกรีกโรมันที่เป็นที่นิยมกันในสมัยนั้น ความนิยมนี้เผยแพร่ไปทั่วสหราชอาณาจักร ทวีปยุโรป และทวีปอเมริกา กล่าวกันว่าจำนวนสิ่งก่อสร้างแบบฟื้นฟูกอธิคจะมากกว่าสิ่งก่อสร้างแบบกอธิคต้นฉบับเสียด้วยซ้ำ

สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอธิคได้รับแรงสนับสนุนจากยุคกลางวิทยาซึ่งมีรากฐานมาจากการอยู่รอดของสิ่งที่เป็นกอธิค ทางด้านวรรณคดีสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอธิคและ Romanticism ทำให้เกิดนวนิยายลักษณะกอธิค เช่นเรื่อง “ปราสาทโอทรันโท” โดยฮอเรส วอลโพล เมื่อค.ศ. 1764 หรือ โคลง “Idylls of the King” โดยอัลเฟรด เทนนิสสัน ซึ่งใช้แนวใหม่ในหัวเรื่องพระเจ้าอาเธอร์ที่มาจากยุคกลาง ในวรรณคดีเยอรมันีก็เช่นเดียวกัน[1]

อ้างอิง

  1. W. D. Robson-Scot, The Literary Background of the Gothic Revival in Germany

ข้อมูลเพิ่มเติม