ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 170: บรรทัด 170:
* 31 ธันวาคม
* 31 ธันวาคม
** เวลา 20.00 นาฬิกา [[พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] พระราชทานกระแสพระราชดำรัสแก่ปวงชนชาวไทย เนื่องในโอกาส[[วันขึ้นปีใหม่]] จาก[[พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน]][[พระราชวังดุสิต]] ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512-พ.ศ. 2559<ref group="หมายเหตุ">พ.ศ. 2515 และ 2517 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ์ สยามกุฏราชกุมาร พระราชทานกระแสพระราชดำรัสนี้แทนพระองค์</ref><ref group="หมายเหตุ">พ.ศ. 2516 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานกระแสพระราชดำรัสนี้ ณ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง</ref><ref group="หมายเหตุ">พ.ศ. 2556 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานกระแสพระราชดำรัสนี้ ณ [[วังไกลกังวล]] [[อำเภอหัวหิน]] [[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์]]</ref>(โดยที่[[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงสานต่อพระราชทานกระแสพระราชดำรัสแก่ปวงชนชาวไทย เนื่องในวันขึ้นปีใหม่ ตั้งแต่ปีพ.ศ.2560-ปัจจุบัน ณ [[พระที่นั่งอัมพรสถาน]] พระราชวังดุสิต (แม่ข่ายโดย สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7(ช่อง 7 HD กด 35)) (โดยรับสัญญาณแม่ข่ายโดยสถานีโทรทัศน์ช่อง 4(พ.ศ.2511-พ.ศ.2520), ช่อง 9 อ.ส.ม.ท.(พ.ศ.2520-พ.ศ.2545), โมเดิร์นไนน์(พ.ศ.2545-พ.ศ.2558)และช่อง 9 MCOTHD หมายเลข 30(พ.ศ.2558)
** เวลา 20.00 นาฬิกา [[พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] พระราชทานกระแสพระราชดำรัสแก่ปวงชนชาวไทย เนื่องในโอกาส[[วันขึ้นปีใหม่]] จาก[[พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน]][[พระราชวังดุสิต]] ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512-พ.ศ. 2559<ref group="หมายเหตุ">พ.ศ. 2515 และ 2517 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ์ สยามกุฏราชกุมาร พระราชทานกระแสพระราชดำรัสนี้แทนพระองค์</ref><ref group="หมายเหตุ">พ.ศ. 2516 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานกระแสพระราชดำรัสนี้ ณ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง</ref><ref group="หมายเหตุ">พ.ศ. 2556 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานกระแสพระราชดำรัสนี้ ณ [[วังไกลกังวล]] [[อำเภอหัวหิน]] [[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์]]</ref>(โดยที่[[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงสานต่อพระราชทานกระแสพระราชดำรัสแก่ปวงชนชาวไทย เนื่องในวันขึ้นปีใหม่ ตั้งแต่ปีพ.ศ.2560-ปัจจุบัน ณ [[พระที่นั่งอัมพรสถาน]] พระราชวังดุสิต (แม่ข่ายโดย สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7(ช่อง 7 HD กด 35)) (โดยรับสัญญาณแม่ข่ายโดยสถานีโทรทัศน์ช่อง 4(พ.ศ.2511-พ.ศ.2520), ช่อง 9 อ.ส.ม.ท.(พ.ศ.2520-พ.ศ.2545), โมเดิร์นไนน์(พ.ศ.2545-พ.ศ.2558)และช่อง 9 MCOTHD หมายเลข 30(พ.ศ.2558)

** รายการพิเศษส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่
** รายการพิเศษส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่

** หลังเที่ยงคืนของปีใหม่ [[สมเด็จพระสังฆราช]], [[จุฬาราชมนตรี]], [[พระคาร์ดินัลฟรังค์ซิสซาเวียร์]], [[พระมหาราชครูพราหมณ์]], [[นายกคุรุสิงห์สภา]], [[นายกรัฐมนตรี]], [[ประธานศาลฎีกา]]และ[[ประธานรัฐสภาไทย]] กล่าวคำอวยพร เนื่องในวันขึ้นปีใหม่ประจำปีสืบมา
** หลังเที่ยงคืนของปีใหม่ [[สมเด็จพระสังฆราช]], [[จุฬาราชมนตรี]], [[พระคาร์ดินัลฟรังค์ซิสซาเวียร์]], [[พระมหาราชครูพราหมณ์]], [[นายกคุรุสิงห์สภา]], [[นายกรัฐมนตรี]], [[ประธานศาลฎีกา]]และ[[ประธานรัฐสภาไทย]] กล่าวคำอวยพร เนื่องในวันขึ้นปีใหม่ประจำปีสืบมา

* ทุกวันเสาร์สัปดาห์ที่ 2 ของเดือนมกราคม อัญเชิญกระแสพระราชดำรัส ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาส[[วันเด็กแห่งชาติ]] และนายกรัฐมนตรี กล่าวคำปราศรัยเนื่องในวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี ตั้งแต่ พ.ศ.2512-ปัจจุบัน
* ทุกวันเสาร์สัปดาห์ที่ 2 ของเดือนมกราคม อัญเชิญกระแสพระราชดำรัส ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาส[[วันเด็กแห่งชาติ]] และนายกรัฐมนตรี กล่าวคำปราศรัยเนื่องในวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี ตั้งแต่ พ.ศ.2512-ปัจจุบัน

* 16 มกราคม นายกรัฐมนตรีหรือ[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ]] กล่าวคำปราศรัยเนื่องในโอกาส[[วันครู]]ประจำปี ตั้งแต่ พ.ศ.2512-ปัจจุบัน
* 16 มกราคม นายกรัฐมนตรีหรือ[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ]] กล่าวคำปราศรัยเนื่องในโอกาส[[วันครู]]ประจำปี ตั้งแต่ พ.ศ.2512-ปัจจุบัน

* [[เทศกาลตรุษจีน]]
* [[เทศกาลตรุษจีน]]
** นายกรัฐมนตรีกล่าวคำอวยพรเนื่องในเทศกาลตรุษจีนประจำปี ตั้งแต่ พ.ศ.2512-ปัจจุบัน
** นายกรัฐมนตรีกล่าวคำอวยพรเนื่องในเทศกาลตรุษจีนประจำปี ตั้งแต่ พ.ศ.2512-ปัจจุบัน

* 13-15 เมษายน นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ(ต่อมาถูกแยกแขนงออกเป็น[[กระทรวงวัฒนธรรม]]ในปัจจุบัน)กล่าวคำอวยพรเนื่องใน[[เทศกาลสงกรานต์]]ประจำปี ตั้งแต่ พ.ศ.2512-ปัจจุบัน
* 13-15 เมษายน นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ(ต่อมาถูกแยกแขนงออกเป็น[[กระทรวงวัฒนธรรม]]ในปัจจุบัน)กล่าวคำอวยพรเนื่องใน[[เทศกาลสงกรานต์]]ประจำปี ตั้งแต่ พ.ศ.2512-ปัจจุบัน

* 1 พฤษภาคม นายกรัฐมนตรีหรือ[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน]]กล่าวคำอวยพรเนื่องในวันแรงงานแห่งชาติประจำปี ตั้งแต่ พ.ศ.2512-ปัจจุบัน
* 1 พฤษภาคม นายกรัฐมนตรีหรือ[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน]]กล่าวคำอวยพรเนื่องในวันแรงงานแห่งชาติประจำปี ตั้งแต่ พ.ศ.2512-ปัจจุบัน

* 5 พฤษภาคม 2512-2559 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]]และ[[พระบรมวงศานุวงศ์]]ทุกพระองค์ เสด็จพระราชดำเนินไปในการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลเนื่องในวโรกาส[[วันฉัตรมงคล]]<ref>[[พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2493]]</ref>ประจำปี ณ [[พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย]]มไหสูรยพิมาน [[พระบรมมหาราชวัง]](ถ่ายทอดสดหมุนเวียนสลับแม่ข่ายกันไปปีละช่อง)
* 5 พฤษภาคม 2512-2559 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]]และ[[พระบรมวงศานุวงศ์]]ทุกพระองค์ เสด็จพระราชดำเนินไปในการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลเนื่องในวโรกาส[[วันฉัตรมงคล]]<ref>[[พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2493]]</ref>ประจำปี ณ [[พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย]]มไหสูรยพิมาน [[พระบรมมหาราชวัง]](ถ่ายทอดสดหมุนเวียนสลับแม่ข่ายกันไปปีละช่อง)

* [[แรกนาขวัญ]]
* [[แรกนาขวัญ]]
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปในการพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญและวันเกษตรแห่งชาติประจำปีตั้งแต่ พ.ศ.2512-ปัจจุบัน ณ มณฑลพิธี[[ท้องสนามหลวง]](ถ่ายทอดสดหมุนเวียนสลับแม่ข่ายกันไปปีละช่อง)
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปในการพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญและวันเกษตรแห่งชาติประจำปีตั้งแต่ พ.ศ.2512-ปัจจุบัน ณ มณฑลพิธี[[ท้องสนามหลวง]](ถ่ายทอดสดหมุนเวียนสลับแม่ข่ายกันไปปีละช่อง)

* วันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
* วันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

** 11 สิงหาคม(พ.ศ.2512-2554)
** 11 สิงหาคม(พ.ศ.2512-2554)
พระราชทานกระแสพระราชดำรัสแก่คณะบุคคลต่างๆที่เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทุกสาขาอาชีพทั่วทุกสารทิศ เพื่อถวายพระพรชัยมงคล ณ ศาลาดุสิดาลัย [[สวนจิตรลดา]](พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน) พระราชวังดุสิต(แม่ข่ายโดย:สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก(ช่อง 5 กดหมายเลข 1HD)
พระราชทานกระแสพระราชดำรัสแก่คณะบุคคลต่างๆที่เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทุกสาขาอาชีพทั่วทุกสารทิศ เพื่อถวายพระพรชัยมงคล ณ ศาลาดุสิดาลัย [[สวนจิตรลดา]](พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน) พระราชวังดุสิต(แม่ข่ายโดย:สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก(ช่อง 5 กดหมายเลข 1HD))

** 12 สิงหาคม(พ.ศ.2512-ปัจจุบัน)
** 12 สิงหาคม(พ.ศ.2512-ปัจจุบัน)
รัฐ[[พิธีถวายเครื่องราชสักการะและจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคล]] ณ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง(แม่ข่ายโดย:-
รัฐ[[พิธีถวายเครื่องราชสักการะและจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคล]] ณ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง(แม่ข่ายโดย:-
สถานีโทรทัศน์ช่อง 4(2512-2520), ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท.(2521-2545), โมเดิร์นไนน์(2546-2558)และช่อง 9 MCOTHD หมายเลข 30(2559-ปัจจุบัน)
สถานีโทรทัศน์ช่อง 4(2512-2520), ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท.(2521-2545), โมเดิร์นไนน์(2546-2558)และช่อง 9 MCOTHD หมายเลข 30(2559-ปัจจุบัน))

* [[พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาในรัชกาลที่ 9]](พ.ศ.2512-2558)
* [[พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาในรัชกาลที่ 9]](พ.ศ.2512-2558)

** 2 ธันวาคม
** 2 ธันวาคม
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงเสด็จพระราชดำเนิน ไปใน[[พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามของทหารรักษาพระองค์]] ณ พระลาน[[พระบรมรูปทรงม้า]] พระราชวังดุสิต หรืออาจมีการเปลี่ยนแปลง เช่น ปี พ.ศ. 2552 แต่ได้มีการเปลี่ยนสถานที่จากลานพระราชวังดุสิตเป็นท้องสนามหลวงอันเป็นการลดพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระภัทรมหาราชเกล้าเจ้าอยู่หัวแต่พิธีนั้นจัดยาวตั้งแต่เวลา 13:00-18:00น.แล้วจะเสด็จพระราชดำเนินกลับในเวลา 18:20น.(แม่ข่ายโดย:สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก(ช่อง 5 กด 1 HD)
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงเสด็จพระราชดำเนิน ไปใน[[พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามของทหารรักษาพระองค์]] ณ พระลาน[[พระบรมรูปทรงม้า]] พระราชวังดุสิต หรืออาจมีการเปลี่ยนแปลง เช่น ปี พ.ศ. 2552 แต่ได้มีการเปลี่ยนสถานที่จากลานพระราชวังดุสิตเป็นท้องสนามหลวงอันเป็นการลดพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระภัทรมหาราชเกล้าเจ้าอยู่หัวแต่พิธีนั้นจัดยาวตั้งแต่เวลา 13:00-18:00น.แล้วจะเสด็จพระราชดำเนินกลับในเวลา 18:20น.(แม่ข่ายโดย:สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก(ช่อง 5 กด 1 HD))

** 4 ธันวาคม
** 4 ธันวาคม
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชดำเนิน พร้อมด้วย พระบรมวงศานุวงศ์ทุกๆพระองค์ ในการที่ให้คณะบุคคลต่างๆ เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทุกสาขาอาชีพ จากทั่วทุกสารทิศ เพื่อถวายพระพรชัยมงคล ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา(พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน) พระราชวังดุสิต(แม่ข่ายโดย:สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก(ช่อง 5 กด 1 HD)
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชดำเนิน พร้อมด้วย พระบรมวงศานุวงศ์ทุกๆพระองค์ ในการที่ให้คณะบุคคลต่างๆ เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทุกสาขาอาชีพ จากทั่วทุกสารทิศ เพื่อถวายพระพรชัยมงคล ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา(พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน) พระราชวังดุสิต(แม่ข่ายโดย:สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก(ช่อง 5 กด 1 HD))

** 5 ธันวาคม(2512-2558)
** 5 ธันวาคม(2512-2558)
เวลาเช้า โดยพระองค์ทรงเครื่อง[[บรมขัตติยราชภูษิตาภรณ์]] พร้อมเครื่องแบบเต็มยศ ประทับพระราชบัลลังก์ บน[[พระที่นั่งพุดตานกาญจนสิงหาสน์]] เหนือพระแท่น[[นพปฎลมหาเศวตฉัตร]] ซึ่งตั้งอยู่หน้า[[พระที่นั่งบุษบกมาลามหาจักรพรรดิพิมาน]] และอยู่เบื้องหลังพระวิสูตร (ม่าน) พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าทูลละอองธุลีพระบาท (อยู่เบื้องหลังพระวิสูตร) และคณะบุคคลต่างๆ (อยู่เบื้องหน้าพระวิสูตร) เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ถวายพระพรชัยมงคล
เวลาเช้า โดยพระองค์ทรงเครื่อง[[บรมขัตติยราชภูษิตาภรณ์]]([[ครุย]]) พร้อมเครื่องแบบเต็มยศ ประทับพระราชบัลลังก์ บน[[พระที่นั่งพุดตานกาญจนสิงหาสน์]] เหนือพระแท่น[[นพปฎลมหาเศวตฉัตร]] ซึ่งตั้งอยู่หน้า[[พระที่นั่งบุษบกมาลามหาจักรพรรดิพิมาน]] และอยู่เบื้องหลังพระวิสูตร (ม่าน) พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าทูลละอองธุลีพระบาท (อยู่เบื้องหลังพระวิสูตร) และคณะบุคคลต่างๆ (อยู่เบื้องหน้าพระวิสูตร) เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ถวายพระพรชัยมงคล
เวลาค่ำ พิธีถวายเครื่องราชสักการะและจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคล และถวายราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติ ของเหล่า[[ข้าราชการ]], [[ทหาร]], [[ตำรวจ]], [[พลเรือน]], [[พ่อค้าวาณิช]], [[คณะฑูตานุฑูต]], [[นักเรียน]], [[นักศึกษา]]และพสกนิกรชาวไทย ซึ่งกำหนดจัดที่ มณฑลพิธี ท้องสนามหลวง และ ศาลากลางจังหวัดทุกจังหวัด(แม่ข่ายโดย:บริษัท อ.ส.ม.ท.จำกัด(มหาชน)
เวลาค่ำ พิธีถวายเครื่องราชสักการะและจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคล และถวายราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติ ของเหล่า[[ข้าราชการ]], [[ทหาร]], [[ตำรวจ]], [[พลเรือน]], [[พ่อค้าวาณิช]], [[คณะฑูตานุฑูต]], [[นักเรียน]], [[นักศึกษา]]และพสกนิกรชาวไทย ซึ่งกำหนดจัดที่ มณฑลพิธี ท้องสนามหลวง และ ศาลากลางจังหวัดทุกจังหวัด(แม่ข่ายโดย:บริษัท อ.ส.ม.ท.จำกัด(มหาชน))

** 7 ธันวาคม(2512-2558)
** 7 ธันวาคม(2512-2558)
แต่เดิมจะเสด็จพระราชดำเนินออกท้องพระโรงกลาง [[พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท]] ให้คณะทูตานุทูตต่างประเทศ และผู้แทนฝ่าย[[กงสุล]] เฝ้าทูลละอองพระบาท ถวายพระพรชัยมงคล มีพระราชดำรัสตอบ แล้วจึงเสด็จพระราชดำเนินขึ้น ก่อนจะเปลี่ยนแปลงเป็นวันที่ 8 ธันวาคม และสถานที่ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา ตามหมายกำหนดการเป็นวันที่ 8 ธันวาคม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน และครั้นถัดมาในวันที่ 7 ธันวาคม (บางปีเลื่อนไปเป็นวันที่ 9 ธันวาคม) ก็เสด็จพระราชดำเนินทรงเป็นองค์ประธาน ในรัฐพิธีสโมสรสันนิบาตเฉลิมพระเกียรติ ที่สนามหญ้าหน้าตึกไทยคู่ฟ้า ทำเนียบรัฐบาล(เว้นในปี พ.ศ. 2551 จัดที่หอประชุมกองทัพเรือ)(ถ่ายทอดสดหมุนเวียนสลับแม่ข่ายกันไปปีละช่อง)
แต่เดิมจะเสด็จพระราชดำเนินออกท้องพระโรงกลาง [[พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท]] ให้คณะทูตานุทูตต่างประเทศ และผู้แทนฝ่าย[[กงสุล]] เฝ้าทูลละอองพระบาท ถวายพระพรชัยมงคล มีพระราชดำรัสตอบ แล้วจึงเสด็จพระราชดำเนินขึ้น ก่อนจะเปลี่ยนแปลงเป็นวันที่ 8 ธันวาคม และสถานที่ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา ตามหมายกำหนดการเป็นวันที่ 8 ธันวาคม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน และครั้นถัดมาในวันที่ 7 ธันวาคม (บางปีเลื่อนไปเป็นวันที่ 9 ธันวาคม) ก็เสด็จพระราชดำเนินทรงเป็นองค์ประธาน ในรัฐพิธีสโมสรสันนิบาตเฉลิมพระเกียรติ ที่สนามหญ้าหน้าตึกไทยคู่ฟ้า ทำเนียบรัฐบาล(เว้นในปี พ.ศ. 2551 จัดที่หอประชุมกองทัพเรือ)(ถ่ายทอดสดหมุนเวียนสลับแม่ข่ายกันไปปีละช่อง)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:39, 10 มีนาคม 2564

โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย
ประเทศไทย
ก่อตั้ง20 ธันวาคม 1968; 55 ปีก่อน (1968-12-20)
สถานีโทรทัศน์
พื้นที่ฉาย
ประเทศไทย
ประเทศประเทศไทย

โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย (ชื่อย่อ: ทรท., ทีวีพูล; อังกฤษ: The Television Pool of Thailand - TPT., T.V.Pool) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2511 โดยสถานีโทรทัศน์ในประเทศไทย 6 ช่องคือ ททบ.5 ช่อง 7 เอชดี ช่อง 3 เอชดี ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี เอ็นบีที และไทยพีบีเอส เพื่อทำงานร่วมกันในการรายงานข่าวสดเกี่ยวกับกิจกรรมพิเศษเช่นพระราชพิธี กิจกรรมภาครัฐบาล คำประกาศ แถลงการณ์ คำปราศรัยในโอกาสต่างๆ และการแข่งขันกีฬาเช่นโอลิมปิกเกมส์ เอเชียนเกมส์ ซีเกมส์ และฟุตบอลโลก[1][2][3]

การก่อตั้ง

เมื่อปี พ.ศ. 2511 ผู้อำนวยการสถานีโทรทัศน์ในขณะนั้น ได้แก่สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 ของบริษัท ไทยโทรทัศน์ จำกัด (ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี ของอสมท ในปัจจุบัน), สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 และสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ของกองทัพบก ได้ประชุมร่วมกันและมีมติว่าควรจะได้รวมตัวกันขึ้น เพื่อปรึกษาหารือ และดำเนินการจัดการในเรื่องต่าง ๆ อันจะเกิดประโยชน์ร่วมกันกับทุกสถานีฯ จึงก่อตั้งองค์กรชื่อว่า โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม ปีดังกล่าว โดยกำหนดให้มีคณะกรรมการขึ้นชุดหนึ่ง ประกอบด้วยผู้อำนวยการของช่องโทรทัศน์ทั้ง 4 เป็นกรรมการ และมอบให้ผู้อำนวยการของ ททบ.5 เป็นประธานกรรมการโดยตำแหน่ง อันเป็นธรรมเนียมปฏิบัติมาแต่ก่อตั้ง ต่อมาสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เข้าร่วมเป็นสมาชิกถาวร นับแต่ก่อตั้งเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 ต่อมามีช่องโทรทัศน์เข้าเป็นสมาชิกสมทบคือ สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย และไทยพีบีเอส (เดิมคือสถานีโทรทัศน์ไอทีวี และสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี) และต่อมามีสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัลที่ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการจาก กสทช. เข้ามาเป็นสมาชิกเพิ่มเติมอีก 21 ช่อง รวมทั้งสถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาที่เข้ามาในภายหลัง รวมเป็น 28 ช่อง ก่อนจะลดลงเหลือ 19 ช่องในเวลาต่อมาจากการคืนใบอนุญาตและปิดสถานีลง

วัตถุประสงค์

  1. ร่วมมือในการถ่ายทอด และรับการถ่ายทอด ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ รายการสำคัญระดับชาติ เช่น พระราชพิธี พิธีสำคัญทางศาสนา พิธีสำคัญทางทหาร กิจกรรมสำคัญของภาครัฐบาล หรืองานสำคัญระหว่างประเทศ รวมทั้งการแข่งขันกีฬานัดสำคัญ อาจจะถ่ายทอดออกอากาศทุกสถานี หรือถ่ายทอดบางสถานีเท่านั้น แล้วแต่จะเห็นควร
  2. เป็นผู้ประสานงาน ในการตกลงค่าลิขสิทธิ์ต่าง ๆ จากการถ่ายทอดตามข้อ 1 เพื่อให้ได้ราคาที่เหมาะสม ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้ชมได้รับชมการถ่ายทอด (กีฬา) ทั้งภายในและต่างประเทศ ที่มีคุณภาพ และระดับราคาที่เหมาะสม
  3. เป็นสื่อกลางระหว่างสถานีโทรทัศน์ช่องต่าง ๆ เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
  4. พิจารณาขจัดปัญหา และข้อขัดแย้งต่าง ๆ ของแต่ละสถานี โดยจะไม่ก้าวก่ายการบริหารภายในของแต่ละสถานี
  5. ร่วมมือสร้างสรรค์ความสัมพันธ์ระหว่างสถานีโทรทัศน์ โดยพยายามยกระดับมาตรฐานให้มีความก้าวหน้ายิ่งขึ้น

สถานีโทรทัศน์ที่เป็นสมาชิก

ในปัจจุบัน

  1. สถานีโทรทัศน์ช่อง 3 เอชดี ช่อง 33
  2. สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ช่อง 1
  3. สถานีโทรทัศน์ช่อง 7 เอชดี ช่อง 35
  4. สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี ช่อง 30
  5. สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ช่อง 2
  6. สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส ช่อง 3
  7. ทีเอ็นเอ็น ช่อง 16
  8. ทรูโฟร์ยู ช่อง 24
  9. ช่องวัน 31
  10. จีเอ็มเอ็ม 25
  11. อมรินทร์ทีวี ช่อง 34
  12. เนชั่นทีวี ช่อง 22
  13. นิว 18
  14. ไทยรัฐทีวี ช่อง 32
  15. ช่อง 8 ช่อง 27
  16. ช่องเวิร์คพอยท์ ช่อง 23
  17. โมโน 29
  18. พีพีทีวี เอชดี ช่อง 36
  19. สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภา ช่อง 10
  20. ไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก
  21. สถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา
  22. เอ็นบีทีเวิลด์
  23. เอแอลทีวี
  24. สถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
  25. สถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมช่องต่าง ๆ ในไทย

ในอดีต

รายชื่อผู้บรรยาย

ปัจจุบัน

  1. สายสวรรค์ ขยันยิ่ง (ถ่ายทอดสดทั่วไป)
  2. สาธิต กรีกุล (ถ่ายทอดสดกีฬา)
  3. ดร.รุ่งทิพย์ โชตินภาลัย (ภาคภาษาอังกฤษ)
  1. กันตชาติ เกษมสันต์ ณ อยุธยา
  2. อุรัสยาน์ เพชรสดศิลป์ (สกุลเดิม สุขะตุงคะ)
  3. ประพาศ ศกุนตนาค
  4. วินธัย สุวารี
  5. ณิศารัช อมะรักษ์
  6. รัตน์มณี กังวาลไกล
  7. นาวาเอกสุรสันต์ คงสิริ (ร.น.)
  8. ยงยุทธ มัยลาภ (ภาคภาษาอังกฤษ)
  1. กฤษดา นวลมี
  2. ช่อฟ้า เหล่าอารยะ
  3. จิรนันท์ เขตพงศ์
  4. นิลาวัลย์ พาณิชย์รุ่งเรือง (สกุลเดิม: ทองไล้)
  5. เหมือนฝัน ประสานพานิช
  1. ธีรวัฒน์ พึ่งทอง
  2. เกียรติยา ธรรมวิภัชน์
  1. พรอัปสร นิลจินดา
  2. สุพัชรินทร์ โพธิ์ทองนาค
  3. สิริเสาวภา ฤกษนันทน์

ในอดีต

  1. อภิญญา เจริญวงศ์
  2. ชาญชัย กายสิทธิ์
  3. ปุณยวีร์ สุขกุลวรเศรษฐ์ (ชื่อและนามสกุลเดิม: อรปรียา หุ่นศาสตร์)
  4. ญาดา ยมกานนท์
  5. บัญชา ชุมชัยเวทย์(เดินหน้าประเทศไทย:เศรษฐกิจ)
  6. ประภัทร์ ศรลัมพ์
  7. ปาริชาต ไวกวี(กมลอาสน์)
  8. รัตน์มณี กังวาลไกล (สกุลเดิม: มณีรัตน์)
  9. ทวินันท์ คงคราญ
  10. ชลรัศมี งาทวีสุข(เดินหน้าประเทศไทย:ความมั่นคงของชาติ)
  11. อภิญญา บุณยประนัย(เดินหน้าประเทศไทย:การเมือง)
  12. พลวัชร ภู่พิพัฒน์(เดินหน้าประเทศไทย:ภารกิจและผลงานของรัฐบาล)
  13. ประไพพัสร์ โขมพัตร
  14. ศุภรัตน์ นาคบุญนำ
  15. จักรพันธุ์ ยมจินดา
  16. ศศินา วิมุตตานนท์
  17. ศตกมล วรกุล
  18. เอกชัย นพจินดา(เสียชีวิตแล้ว)
  19. พิษณุ นิลกลัด
  20. อาคม มกรานนท์
  21. พลากร สมสุวรรณ
  22. ภัทร จึงกานต์กุล(เดินหน้าประเทศไทย:วิทยาศาสตร์)
  23. บัวบูชา ปุณณนันต์(เดินหน้าประเทศไทย:การศึกษา)
  24. สุนทรี อรรถสุข
  25. กรรณิกา ธรรมเกษร
  26. โศภณ นวรัตนาพงษ์(เดินหน้าประเทศไทย:การท่องเที่ยวและกีฬา)
  27. เพ็ญพรรณ แหลมหลวง(เดินหน้าประเทศไทย:ศิลปะ,วัฒนธรรม,วรรณกรรมและบันเทิง)
  28. ศุภชาติ ศุภเมธี(เดินหน้าประเทศไทย:ศาสนา)
  29. แอนดรูว์ บิ๊กส์ (ภาคภาษาอังกฤษ)

การดำเนินงาน

การถ่ายทอดกีฬา

ก่อนการก่อตั้งโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทยนั้น สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม และ สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 7 เคยร่วมกันถ่ายทอดการแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติมาแล้ว คือเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 5 ซึ่งประเทศไทยเป็นเจ้าภาพครั้งแรก เมื่อวันที่ 9 - 20 ธันวาคม พ.ศ. 2509 และกีฬาแหลมทอง ครั้งที่ 4 (ปัจจุบันคือซีเกมส์) ซึ่งประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ เมื่อวันที่ 9 - 16 ธันวาคม พ.ศ. 2510 หลังจากนั้นโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทยดำเนินการถ่ายทอดสดการแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติร่วมกันมาจนถึงปัจจุบัน

ผลงานครั้งสำคัญ

ตามปฏิทิน

    • รายการพิเศษส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่
  • ทุกวันเสาร์สัปดาห์ที่ 2 ของเดือนมกราคม อัญเชิญกระแสพระราชดำรัส ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสวันเด็กแห่งชาติ และนายกรัฐมนตรี กล่าวคำปราศรัยเนื่องในวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี ตั้งแต่ พ.ศ.2512-ปัจจุบัน
  • เทศกาลตรุษจีน
    • นายกรัฐมนตรีกล่าวคำอวยพรเนื่องในเทศกาลตรุษจีนประจำปี ตั้งแต่ พ.ศ.2512-ปัจจุบัน
  • 13-15 เมษายน นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ(ต่อมาถูกแยกแขนงออกเป็นกระทรวงวัฒนธรรมในปัจจุบัน)กล่าวคำอวยพรเนื่องในเทศกาลสงกรานต์ประจำปี ตั้งแต่ พ.ศ.2512-ปัจจุบัน

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปในการพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญและวันเกษตรแห่งชาติประจำปีตั้งแต่ พ.ศ.2512-ปัจจุบัน ณ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง(ถ่ายทอดสดหมุนเวียนสลับแม่ข่ายกันไปปีละช่อง)

  • วันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
    • 11 สิงหาคม(พ.ศ.2512-2554)

พระราชทานกระแสพระราชดำรัสแก่คณะบุคคลต่างๆที่เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทุกสาขาอาชีพทั่วทุกสารทิศ เพื่อถวายพระพรชัยมงคล ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา(พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน) พระราชวังดุสิต(แม่ข่ายโดย:สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก(ช่อง 5 กดหมายเลข 1HD))

    • 12 สิงหาคม(พ.ศ.2512-ปัจจุบัน)

รัฐพิธีถวายเครื่องราชสักการะและจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคล ณ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง(แม่ข่ายโดย:- สถานีโทรทัศน์ช่อง 4(2512-2520), ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท.(2521-2545), โมเดิร์นไนน์(2546-2558)และช่อง 9 MCOTHD หมายเลข 30(2559-ปัจจุบัน))

    • 2 ธันวาคม

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงเสด็จพระราชดำเนิน ไปในพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามของทหารรักษาพระองค์ ณ พระลานพระบรมรูปทรงม้า พระราชวังดุสิต หรืออาจมีการเปลี่ยนแปลง เช่น ปี พ.ศ. 2552 แต่ได้มีการเปลี่ยนสถานที่จากลานพระราชวังดุสิตเป็นท้องสนามหลวงอันเป็นการลดพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระภัทรมหาราชเกล้าเจ้าอยู่หัวแต่พิธีนั้นจัดยาวตั้งแต่เวลา 13:00-18:00น.แล้วจะเสด็จพระราชดำเนินกลับในเวลา 18:20น.(แม่ข่ายโดย:สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก(ช่อง 5 กด 1 HD))

    • 4 ธันวาคม

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชดำเนิน พร้อมด้วย พระบรมวงศานุวงศ์ทุกๆพระองค์ ในการที่ให้คณะบุคคลต่างๆ เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทุกสาขาอาชีพ จากทั่วทุกสารทิศ เพื่อถวายพระพรชัยมงคล ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา(พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน) พระราชวังดุสิต(แม่ข่ายโดย:สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก(ช่อง 5 กด 1 HD))

    • 5 ธันวาคม(2512-2558)

เวลาเช้า โดยพระองค์ทรงเครื่องบรมขัตติยราชภูษิตาภรณ์(ครุย) พร้อมเครื่องแบบเต็มยศ ประทับพระราชบัลลังก์ บนพระที่นั่งพุดตานกาญจนสิงหาสน์ เหนือพระแท่นนพปฎลมหาเศวตฉัตร ซึ่งตั้งอยู่หน้าพระที่นั่งบุษบกมาลามหาจักรพรรดิพิมาน และอยู่เบื้องหลังพระวิสูตร (ม่าน) พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าทูลละอองธุลีพระบาท (อยู่เบื้องหลังพระวิสูตร) และคณะบุคคลต่างๆ (อยู่เบื้องหน้าพระวิสูตร) เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ถวายพระพรชัยมงคล เวลาค่ำ พิธีถวายเครื่องราชสักการะและจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคล และถวายราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติ ของเหล่าข้าราชการ, ทหาร, ตำรวจ, พลเรือน, พ่อค้าวาณิช, คณะฑูตานุฑูต, นักเรียน, นักศึกษาและพสกนิกรชาวไทย ซึ่งกำหนดจัดที่ มณฑลพิธี ท้องสนามหลวง และ ศาลากลางจังหวัดทุกจังหวัด(แม่ข่ายโดย:บริษัท อ.ส.ม.ท.จำกัด(มหาชน))

    • 7 ธันวาคม(2512-2558)

แต่เดิมจะเสด็จพระราชดำเนินออกท้องพระโรงกลาง พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ให้คณะทูตานุทูตต่างประเทศ และผู้แทนฝ่ายกงสุล เฝ้าทูลละอองพระบาท ถวายพระพรชัยมงคล มีพระราชดำรัสตอบ แล้วจึงเสด็จพระราชดำเนินขึ้น ก่อนจะเปลี่ยนแปลงเป็นวันที่ 8 ธันวาคม และสถานที่ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา ตามหมายกำหนดการเป็นวันที่ 8 ธันวาคม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน และครั้นถัดมาในวันที่ 7 ธันวาคม (บางปีเลื่อนไปเป็นวันที่ 9 ธันวาคม) ก็เสด็จพระราชดำเนินทรงเป็นองค์ประธาน ในรัฐพิธีสโมสรสันนิบาตเฉลิมพระเกียรติ ที่สนามหญ้าหน้าตึกไทยคู่ฟ้า ทำเนียบรัฐบาล(เว้นในปี พ.ศ. 2551 จัดที่หอประชุมกองทัพเรือ)(ถ่ายทอดสดหมุนเวียนสลับแม่ข่ายกันไปปีละช่อง)

หมายเหตุ

  1. พ.ศ. 2515 และ 2517 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ์ สยามกุฏราชกุมาร พระราชทานกระแสพระราชดำรัสนี้แทนพระองค์
  2. พ.ศ. 2516 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานกระแสพระราชดำรัสนี้ ณ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง
  3. พ.ศ. 2556 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานกระแสพระราชดำรัสนี้ ณ วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

อ้างอิง