ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Anonimeco/กระบะทราย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
| subregnum = [[พืชบก|Embryophyta]]
| subregnum = [[พืชบก|Embryophyta]]
| unranked_superdivisio = [[พืชมีเมล็ด|Spermatophyta]]
| unranked_superdivisio = [[พืชมีเมล็ด|Spermatophyta]]
| unranked_divisio = '''Gymnospermae''' (รวมสูญพันธุ์และ[[พาราไฟลี|พาราไฟเลติก]])<br>
| unranked_divisio = '''Gymnospermae''' (รวมสูญพันธุ์; [[พาราไฟลี|พาราไฟเลติก]])<br>
'''Acrogymnospermae''' (เฉพาะที่ยังมีอยู่)
'''Acrogymnospermae''' (เฉพาะที่ยังมีอยู่)
| subdivision_ranks = [[Division (botany)|Divisions]]
| subdivision_ranks = [[Division (botany)|Divisions]]
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
}}
}}


'''พืชเมล็ดเปลือย''' ({{lang-en|gymnosperms}}) หรือ '''Acrogymnospermae''' เป็น[[พืชมีเมล็ด]]กลุ่มหนึ่งที่ประกอบด้วย[[พิโนฟิตา|สน]] [[ปรง]] [[แปะก๊วย]] และ[[เนโทไฟตา]] ชื่อ gymnosperm มาจากการรวมคำ[[ภาษากรีกโบราณ]] 2 คำคือ γυμνός (gumnós, “เปลือย”) และ σπέρμα (spérma, “เมล็ด”)<ref>{{cite web|url=https://www.merriam-webster.com/dictionary/gymnosperm|title=Definition of gymnosperm|website=Merriam-Webster|accessdate=February 18, 2021}}</ref> สาเหตุที่เรียกพืชเมล็ดเปลือยมาจากการที่เมล็ดไม่ได้ถูกห่อหุ้มด้วยรังไข่เนื่องจากไม่มีดอก และเมล็ดเจริญบนแผ่นใบหรือโคน<ref>{{cite web|url=https://sciencing.com/do-gymnosperms-produce-flowers-fruit-13428148.html|title=Do Gymnosperms Produce Flowers & Fruit?|author=Grant, Bonnie|website=Sciencing|date=July 21, 2017|accessdate=February 18, 2021}}</ref> ต่างจาก[[พืชดอก]]ที่เมล็ดห่อหุ้มด้วยรังไข่ซึ่งต่อมาเจริญเป็นผล<ref>{{cite web|url=https://www.thoughtco.com/what-are-gymnosperms-4164250|title=What Are Gymnosperms?|author=Bailey, Regina|website=ThoughtCo|date=May 2, 2018|accessdate=February 18, 2021}}</ref>
'''พืชเมล็ดเปลือย''' ({{lang-en|gymnosperms}}) หรือ '''Acrogymnospermae''' เป็น[[พืชมีเมล็ด]]กลุ่มหนึ่งที่ประกอบด้วย[[พิโนฟิตา|สน]] [[ปรง]] [[แปะก๊วย]] และ[[เนโทไฟตา]] คำ gymnosperm มาจากการรวมคำ[[ภาษากรีกโบราณ]] 2 คำคือ γυμνός (gumnós, “เปลือย”) และ σπέρμα (spérma, “เมล็ด”)<ref>{{cite web|url=https://www.merriam-webster.com/dictionary/gymnosperm|title=Definition of gymnosperm|website=Merriam-Webster|accessdate=February 18, 2021}}</ref> สาเหตุที่เรียกพืชเมล็ดเปลือยมาจากการที่เมล็ดไม่ได้ถูกห่อหุ้มด้วย[[รังไข่ (พฤกษศาสตร์)|รังไข่]]เนื่องจากไม่มี[[ดอก]] และเมล็ดเจริญบนแผ่นใบหรือโคน<ref>{{cite web|url=https://sciencing.com/do-gymnosperms-produce-flowers-fruit-13428148.html|title=Do Gymnosperms Produce Flowers & Fruit?|author=Grant, Bonnie|website=Sciencing|date=July 21, 2017|accessdate=February 18, 2021}}</ref> ต่างจาก[[พืชดอก]]ที่เมล็ดห่อหุ้มด้วยรังไข่ซึ่งต่อมาเจริญเป็นผล<ref>{{cite web|url=https://www.thoughtco.com/what-are-gymnosperms-4164250|title=What Are Gymnosperms?|author=Bailey, Regina|website=ThoughtCo|date=May 2, 2018|accessdate=February 18, 2021}}</ref>


พืชเมล็ดเปลือยและพืชมีดอกเป็นพืชสองกลุ่มที่รวมเป็นพืชมีเมล็ด (spermatophytes) พืชเมล็ดเปลือยประกอบด้วย 6 ไฟลัม 4 ไฟลัมยังคงมีอยู่ ได้แก่ ไซแคโดไฟตา (Cycadophyta) กิงโกไฟตา (Ginkgophyta) เนโทไฟตา (Gnetophyta) และพิโนฟิตา (Pinophyta) ขณะที่อีก 2 ไฟลัมคือ [[เทอริโดสเปอร์มาโตไฟตา]] (Pteridospermatophyta) และ[[คอร์ไดทาเลส]] (Cordaitales) สูญพันธุ์แล้ว<ref name=":0">{{Cite book|title=Biology of Plants|last=Raven|first=P.H.|publisher=New York: W.H. Freeman and Co.|year=2013}}</ref> ในบรรดา 4 ไฟลัมที่ยังมีอยู่ สนเป็นไฟลัมที่มีจำนวนมากที่สุด รองลงมาคือปรง เนโทไฟต์ ([[สกุลมะเมื่อย]] [[เอฟิดรา]] [[เวลวิชเซีย]]) และแปะก๊วย
พืชเมล็ดเปลือยและพืชมีดอกเป็นพืชสองกลุ่มที่รวมเป็นพืชมีเมล็ด (spermatophytes) พืชเมล็ดเปลือยประกอบด้วย 6 ไฟลัม 4 ไฟลัมยังคงมีอยู่ ได้แก่ ไซแคโดไฟตา (Cycadophyta) กิงโกไฟตา (Ginkgophyta) เนโทไฟตา (Gnetophyta) และพิโนฟิตา (Pinophyta) ขณะที่อีก 2 ไฟลัมคือ [[เทอริโดสเปอร์มาโตไฟตา]] (Pteridospermatophyta) และ[[คอร์ไดทาเลส]] (Cordaitales) สูญพันธุ์แล้ว<ref name=":0">{{Cite book|title=Biology of Plants|last=Raven|first=P.H.|publisher=New York: W.H. Freeman and Co.|year=2013}}</ref> ในบรรดา 4 ไฟลัมที่ยังมีอยู่ สนเป็นไฟลัมที่มีจำนวนมากที่สุด รองลงมาคือปรง เนโทไฟต์ ([[สกุลมะเมื่อย]] [[เอฟิดรา]] [[เวลวิชเซีย]]) และแปะก๊วย


พืชเมล็ดเปลือยมีช่วง[[สปอโรไฟต์]]เป็นช่วงเด่นในวงจรชีวิตเช่น[[พืชมีท่อลำเลียง]] สปอร์สองชนิดคือไมโครสปอร์และเมกะสปอร์จะถูกสร้างที่โคนเพศผู้และโคนเพศเมียตามลำดับ ในช่วง[[แกมีโตไฟต์]] จะมีการสร้าง[[ละอองเรณู]]จากไมโครสปอร์ ขณะที่เมกะแกมีโตไฟต์หรือ[[เซลล์ไข่]]จะถูกสร้างจากเมกะสปอร์และถูกเก็บไว้ใน[[ออวุล]] ระหว่างการถ่ายเรณู ละอองเรณูจะถูกลมหรือแมลงพาไปยังออวุลของอีกต้น ละอองเรณูจะผ่านเข้าช่องเล็ก ๆ ของเยื่อหุ้มออวุลไปพบกับเซลล์ไข่
พืชเมล็ดเปลือยมีช่วง[[สปอโรไฟต์]]เป็นช่วงเด่นในวงจรชีวิตเช่น[[พืชมีท่อลำเลียง]] สปอร์สองชนิดคือไมโครสปอร์และเมกะสปอร์จะถูกสร้างที่โคนเพศผู้และโคนเพศเมียตามลำดับ ในช่วง[[แกมีโตไฟต์]] จะมีการสร้าง[[ละอองเรณู]]จากไมโครสปอร์ ขณะที่เมกะแกมีโตไฟต์หรือ[[เซลล์ไข่]]จะถูกสร้างจากเมกะสปอร์และถูกเก็บไว้ใน[[ออวุล]] ระหว่างการถ่ายเรณู ละอองเรณูจะถูกลมหรือแมลงพาไปยังออวุลของอีกต้น ละอองเรณูจะผ่านเข้าช่องเล็ก ๆ ของเยื่อหุ้มออวุลไปพบกับเซลล์ไข่และเกิดการปฏิสนธิ หลังจากนั้นไซโกตจะพัฒนาเป็นเอ็มบริโอและเมล็ด

ปัจจุบันพืชเมล็ดเปลือยที่ยังมีอยู่มีมากกว่า 1,000 ชนิด<ref name="TPL">{{cite web|url=http://www.theplantlist.org/browse/G/|title=Gymnosperms on The Plant List|publisher=Theplantlist.org|access-date=2013-07-24}}</ref> มีการยอมรับอย่างแพร่หลายว่าพืชเมล็ดเปลือยถือกำเนิดปลาย[[ยุคคาร์บอนิเฟอรัส]] โดยมาแทนที่ป่าฝน[[ไฟลัมไลโคไฟตา|ไลโคไฟต์]]ในภูมิภาคเขตร้อน<ref name="SahneyBentonFerry2010RainforestCollapse">{{cite journal | author= Sahney, S. | author2= Benton, M.J. | author3= Falcon-Lang, H.J. | name-list-style= amp | year=2010 | title= Rainforest collapse triggered Pennsylvanian tetrapod diversification in Euramerica | journal=Geology | volume = 38 | pages = 1079–1082 | doi=10.1130/G31182.1 | issue=12 | bibcode=2010Geo....38.1079S}}</ref><ref>Campbell and Reece; Biology, Eighth edition</ref>

== การจำแนกประเภท ==
การจำแนกประเภทอย่างเป็นทางการของพืชเมล็ดเปลือยที่ยังมีอยู่เรียกว่า Acrogymnospermae ซึ่งเป็น[[เคลด|กลุ่มโมโนไฟเลติก]]ใน[[พืชมีเมล็ด]]{{sfn|Cantino|2007}}<ref name=":2">{{cite journal|last1=Christenhusz|first1=M.J.M.|last2=Reveal|first2=J.L.|last3=Farjon|first3=A.|last4=Gardner|first4=M.F.|last5=Mill|first5=R.R.|last6=Chase|first6=M.W.|year=2011|title=A new classification and linear sequence of extant gymnosperms|url=http://www.mapress.com/phytotaxa/content/2011/f/pt00019p070.pdf|journal=Phytotaxa|volume=19|pages=55–70|doi=10.11646/phytotaxa.19.1.3}}</ref> กลุ่ม Gymnospermae ที่กว้างกว่ารวมถึงพืชเมล็ดเปลือยที่สูญพันธุ์และเชื่อว่าเป็น[[พาราไฟลี|กลุ่มพาราไฟเลติก]] ฟอสซิลพืชเมล็ดเปลือยที่พบเป็นพืชที่ไม่เข้ากับ 4 กลุ่มที่ยังมีอยู่ โดยมีลักษณะเป็นพืชมีเมล็ดคล้าย[[เฟิร์น]] (บางครั้งเรียก[[เทอริโดสเปอร์มาโตไฟตา|เทอริโดสเปิร์ม]] หรือเฟิร์นมีเมล็ด)<ref>Hilton, Jason, and Richard M. Bateman. 2006. Pteridosperms are the backbone of seed-plant phylogeny. ''Journal of the Torrey Botanical Society'' 133: 119–168 ([http://www.bioone.org/perlserv/?request=get-abstract&doi=10.3159%2F1095-5674(2006)133%5B119%3APATBOS%5D2.0.CO%3B2&ct=1 abstract])</ref>

ปัจจุบันพืชเมล็ดเปลือยที่ยังมีอยู่ประกอบด้วย 12 วงศ์หลัก 83 สกุล และมากกว่า 1,000 ชนิด<ref name="TPL" /><ref name=":2" /><ref name="Christenhusz-Byng2016">{{cite journal |author1=Christenhusz, M. J. M. |author2=Byng, J. W. | year = 2016 | title = The number of known plants species in the world and its annual increase | journal = Phytotaxa | volume = 261 | pages = 201–217 | url = http://biotaxa.org/Phytotaxa/article/download/phytotaxa.261.3.1/20598 | doi = 10.11646/phytotaxa.261.3.1 | issue = 3 | doi-access = free }}</ref>

ชั้นย่อย '''[[Cycadidae]]'''
* อันดับ '''[[Cycadales]]'''
** วงศ์ '''[[Cycadaceae]]''': ''Cycas''
** วงศ์ '''[[Zamiaceae]]''': ''Dioon'', ''Bowenia'', ''Macrozamia'', ''Lepidozamia'', ''Encephalartos'', ''Stangeria'', ''Ceratozamia'', ''Microcycas'', ''Zamia''.

ชั้นย่อย '''[[Ginkgoidae]]'''
* อันดับ '''[[Ginkgoales]]'''
** วงศ์ '''[[Ginkgoaceae]]''': ''Ginkgo''

ชั้นย่อย '''[[Gnetidae]]'''
* อันดับ '''[[Welwitschiales]]'''
** วงศ์ '''[[Welwitschiaceae]]''': ''Welwitschia''
* อันดับ '''[[สกุลมะเมื่อย|Gnetales]]'''
** วงศ์ '''[[สกุลมะเมื่อย|Gnetaceae]]''': ''Gnetum''
* อันดับ '''[[Ephedrales]]'''
** วงศ์ '''[[Ephedraceae]]''': ''Ephedra''

ชั้นย่อย '''[[Pinidae]]'''
* อันดับ '''[[Pinales]]'''
** วงศ์ '''[[Pinaceae]]''': ''Cedrus'', ''Pinus'', ''Cathaya'', ''Picea'', ''Pseudotsuga'', ''Larix'', ''Pseudolarix'', ''Tsuga'', ''Nothotsuga'', ''Keteleeria'', ''Abies''
* อันดับ '''[[วงศ์สนฉัตร|Araucariales]]'''
** วงศ์ '''[[Araucariaceae]]''': ''Araucaria'', ''Wollemia'', ''Agathis''
** วงศ์ '''[[Podocarpaceae]]''': ''Phyllocladus'', ''Lepidothamnus'', ''Prumnopitys'', ''Sundacarpus'', ''Halocarpus'', ''Parasitaxus'', ''Lagarostrobos'', ''Manoao'', ''Saxegothaea'', ''Microcachrys'', ''Pherosphaera'', ''Acmopyle'', ''Dacrycarpus'', ''Dacrydium'', ''Falcatifolium'', ''Retrophyllum'', ''Nageia'', ''Afrocarpus'', ''Podocarpus''
* อันดับ '''Cupressales'''
** วงศ์ '''[[สนร่ม|Sciadopityaceae]]''': ''Sciadopitys''
** วงศ์ '''[[Cupressaceae]]''': ''Cunninghamia'', ''Taiwania'', ''Athrotaxis'', ''Metasequoia'', ''Sequoia'', ''Sequoiadendron'', ''Cryptomeria'', ''Glyptostrobus'', ''Taxodium'', ''Papuacedrus'', ''Austrocedrus'', ''Libocedrus'', ''Pilgerodendron'', ''Widdringtonia'', ''Diselma'', ''Fitzroya'', ''Callitris'', ''Actinostrobus'', ''Neocallitropsis'', ''Thujopsis'', ''Thuja'', ''Fokienia'', ''Chamaecyparis'', ''Cupressus'', ''Juniperus'', ''Calocedrus'', ''Tetraclinis'', ''Platycladus'', ''Microbiota''
** วงศ์ '''[[Taxaceae]]''': ''Austrotaxus'', ''Pseudotaxus'', ''Taxus'', ''Cephalotaxus'', ''Amentotaxus'', ''Torreya''

=== สูญพันธุ์แล้ว ===
* อันดับ '''[[Bennettitales]]'''
** วงศ์ [[Cycadeoidaceae]]
** วงศ์ [[Williamsoniaceae]]
* อันดับ '''[[Erdtmanithecales]]'''
* อันดับ '''[[Pentoxylales]]'''
* อันดับ '''[[Czekanowskiales]]'''


{{commons category|gymnosperms|พืชเมล็ดเปลือย}}
{{commons category|gymnosperms|พืชเมล็ดเปลือย}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:15, 17 กุมภาพันธ์ 2564

พืชเมล็ดเปลือย (Gymnospermae)
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: ยุคคาร์บอนิเฟอรัสปัจจุบัน
พืชเมล็ดเปลือยหลากชนิด
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
อาณาจักรย่อย: Embryophyta
ไม่ได้จัดลำดับ: Spermatophyta
ไม่ได้จัดลำดับ: Gymnospermae (รวมสูญพันธุ์; พาราไฟเลติก)

Acrogymnospermae (เฉพาะที่ยังมีอยู่)

Divisions

Pinophyta (หรือ Coniferophyta) – Conifers
GinkgophytaGinkgo
Cycadophyta – Cycads
GnetophytaGnetum, Ephedra, Welwitschia

พืชเมล็ดเปลือย (อังกฤษ: gymnosperms) หรือ Acrogymnospermae เป็นพืชมีเมล็ดกลุ่มหนึ่งที่ประกอบด้วยสน ปรง แปะก๊วย และเนโทไฟตา คำ gymnosperm มาจากการรวมคำภาษากรีกโบราณ 2 คำคือ γυμνός (gumnós, “เปลือย”) และ σπέρμα (spérma, “เมล็ด”)[1] สาเหตุที่เรียกพืชเมล็ดเปลือยมาจากการที่เมล็ดไม่ได้ถูกห่อหุ้มด้วยรังไข่เนื่องจากไม่มีดอก และเมล็ดเจริญบนแผ่นใบหรือโคน[2] ต่างจากพืชดอกที่เมล็ดห่อหุ้มด้วยรังไข่ซึ่งต่อมาเจริญเป็นผล[3]

พืชเมล็ดเปลือยและพืชมีดอกเป็นพืชสองกลุ่มที่รวมเป็นพืชมีเมล็ด (spermatophytes) พืชเมล็ดเปลือยประกอบด้วย 6 ไฟลัม 4 ไฟลัมยังคงมีอยู่ ได้แก่ ไซแคโดไฟตา (Cycadophyta) กิงโกไฟตา (Ginkgophyta) เนโทไฟตา (Gnetophyta) และพิโนฟิตา (Pinophyta) ขณะที่อีก 2 ไฟลัมคือ เทอริโดสเปอร์มาโตไฟตา (Pteridospermatophyta) และคอร์ไดทาเลส (Cordaitales) สูญพันธุ์แล้ว[4] ในบรรดา 4 ไฟลัมที่ยังมีอยู่ สนเป็นไฟลัมที่มีจำนวนมากที่สุด รองลงมาคือปรง เนโทไฟต์ (สกุลมะเมื่อย เอฟิดรา เวลวิชเซีย) และแปะก๊วย

พืชเมล็ดเปลือยมีช่วงสปอโรไฟต์เป็นช่วงเด่นในวงจรชีวิตเช่นพืชมีท่อลำเลียง สปอร์สองชนิดคือไมโครสปอร์และเมกะสปอร์จะถูกสร้างที่โคนเพศผู้และโคนเพศเมียตามลำดับ ในช่วงแกมีโตไฟต์ จะมีการสร้างละอองเรณูจากไมโครสปอร์ ขณะที่เมกะแกมีโตไฟต์หรือเซลล์ไข่จะถูกสร้างจากเมกะสปอร์และถูกเก็บไว้ในออวุล ระหว่างการถ่ายเรณู ละอองเรณูจะถูกลมหรือแมลงพาไปยังออวุลของอีกต้น ละอองเรณูจะผ่านเข้าช่องเล็ก ๆ ของเยื่อหุ้มออวุลไปพบกับเซลล์ไข่และเกิดการปฏิสนธิ หลังจากนั้นไซโกตจะพัฒนาเป็นเอ็มบริโอและเมล็ด

ปัจจุบันพืชเมล็ดเปลือยที่ยังมีอยู่มีมากกว่า 1,000 ชนิด[5] มีการยอมรับอย่างแพร่หลายว่าพืชเมล็ดเปลือยถือกำเนิดปลายยุคคาร์บอนิเฟอรัส โดยมาแทนที่ป่าฝนไลโคไฟต์ในภูมิภาคเขตร้อน[6][7]

การจำแนกประเภท

การจำแนกประเภทอย่างเป็นทางการของพืชเมล็ดเปลือยที่ยังมีอยู่เรียกว่า Acrogymnospermae ซึ่งเป็นกลุ่มโมโนไฟเลติกในพืชมีเมล็ด[8][9] กลุ่ม Gymnospermae ที่กว้างกว่ารวมถึงพืชเมล็ดเปลือยที่สูญพันธุ์และเชื่อว่าเป็นกลุ่มพาราไฟเลติก ฟอสซิลพืชเมล็ดเปลือยที่พบเป็นพืชที่ไม่เข้ากับ 4 กลุ่มที่ยังมีอยู่ โดยมีลักษณะเป็นพืชมีเมล็ดคล้ายเฟิร์น (บางครั้งเรียกเทอริโดสเปิร์ม หรือเฟิร์นมีเมล็ด)[10]

ปัจจุบันพืชเมล็ดเปลือยที่ยังมีอยู่ประกอบด้วย 12 วงศ์หลัก 83 สกุล และมากกว่า 1,000 ชนิด[5][9][11]

ชั้นย่อย Cycadidae

  • อันดับ Cycadales
    • วงศ์ Cycadaceae: Cycas
    • วงศ์ Zamiaceae: Dioon, Bowenia, Macrozamia, Lepidozamia, Encephalartos, Stangeria, Ceratozamia, Microcycas, Zamia.

ชั้นย่อย Ginkgoidae

ชั้นย่อย Gnetidae

ชั้นย่อย Pinidae

  • อันดับ Pinales
    • วงศ์ Pinaceae: Cedrus, Pinus, Cathaya, Picea, Pseudotsuga, Larix, Pseudolarix, Tsuga, Nothotsuga, Keteleeria, Abies
  • อันดับ Araucariales
    • วงศ์ Araucariaceae: Araucaria, Wollemia, Agathis
    • วงศ์ Podocarpaceae: Phyllocladus, Lepidothamnus, Prumnopitys, Sundacarpus, Halocarpus, Parasitaxus, Lagarostrobos, Manoao, Saxegothaea, Microcachrys, Pherosphaera, Acmopyle, Dacrycarpus, Dacrydium, Falcatifolium, Retrophyllum, Nageia, Afrocarpus, Podocarpus
  • อันดับ Cupressales
    • วงศ์ Sciadopityaceae: Sciadopitys
    • วงศ์ Cupressaceae: Cunninghamia, Taiwania, Athrotaxis, Metasequoia, Sequoia, Sequoiadendron, Cryptomeria, Glyptostrobus, Taxodium, Papuacedrus, Austrocedrus, Libocedrus, Pilgerodendron, Widdringtonia, Diselma, Fitzroya, Callitris, Actinostrobus, Neocallitropsis, Thujopsis, Thuja, Fokienia, Chamaecyparis, Cupressus, Juniperus, Calocedrus, Tetraclinis, Platycladus, Microbiota
    • วงศ์ Taxaceae: Austrotaxus, Pseudotaxus, Taxus, Cephalotaxus, Amentotaxus, Torreya

สูญพันธุ์แล้ว

อ้างอิง

  1. "Definition of gymnosperm". Merriam-Webster. สืบค้นเมื่อ February 18, 2021.
  2. Grant, Bonnie (July 21, 2017). "Do Gymnosperms Produce Flowers & Fruit?". Sciencing. สืบค้นเมื่อ February 18, 2021.
  3. Bailey, Regina (May 2, 2018). "What Are Gymnosperms?". ThoughtCo. สืบค้นเมื่อ February 18, 2021.
  4. Raven, P.H. (2013). Biology of Plants. New York: W.H. Freeman and Co.
  5. 5.0 5.1 "Gymnosperms on The Plant List". Theplantlist.org. สืบค้นเมื่อ 2013-07-24.
  6. Sahney, S.; Benton, M.J. & Falcon-Lang, H.J. (2010). "Rainforest collapse triggered Pennsylvanian tetrapod diversification in Euramerica". Geology. 38 (12): 1079–1082. Bibcode:2010Geo....38.1079S. doi:10.1130/G31182.1.
  7. Campbell and Reece; Biology, Eighth edition
  8. Cantino 2007.
  9. 9.0 9.1 Christenhusz, M.J.M.; Reveal, J.L.; Farjon, A.; Gardner, M.F.; Mill, R.R.; Chase, M.W. (2011). "A new classification and linear sequence of extant gymnosperms" (PDF). Phytotaxa. 19: 55–70. doi:10.11646/phytotaxa.19.1.3.
  10. Hilton, Jason, and Richard M. Bateman. 2006. Pteridosperms are the backbone of seed-plant phylogeny. Journal of the Torrey Botanical Society 133: 119–168 (abstract)
  11. Christenhusz, M. J. M.; Byng, J. W. (2016). "The number of known plants species in the world and its annual increase". Phytotaxa. 261 (3): 201–217. doi:10.11646/phytotaxa.261.3.1.