ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษากรีก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aefgh3962 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Aefgh3962 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{แปลเพิ่ม|langcode = en|otherarticle = Greek language|lang = ภาษาอังกฤษ}}
{{แปลเพิ่ม|langcode = en|otherarticle = Greek language|lang = ภาษาอังกฤษ}}
{{ล้าสมัย}}
{{กล่องข้อมูล ภาษา
{{กล่องข้อมูล ภาษา
| name = กรีก
| name = กรีก
บรรทัด 19: บรรทัด 20:


'''ภาษากรีก''' ซึ่งคนที่พูดและเขียนภาษานี้เรียกว่า '''เฮลเลนิก''' หรือ '''เอลเลนิกา''' (Ελληνικά) เป็น[[ภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน]] เกิดใน[[ประเทศกรีซ]] และเคยเป็นภาษาพูดตามชายฝั่งของ[[เอเชียไมเนอร์]]และทางใต้ของ[[ประเทศอิตาลี]]ในยุคโบราณ มีการพูดภาษาถิ่นจำนวนหนึ่ง เช่น [[ภาษาไอโอนิกกรีก|ไอโอนิก]] [[ภาษาดอริกกรีก|ดอริก]] และ[[ภาษาแอททิกกรีก|แอททิก]]
'''ภาษากรีก''' ซึ่งคนที่พูดและเขียนภาษานี้เรียกว่า '''เฮลเลนิก''' หรือ '''เอลเลนิกา''' (Ελληνικά) เป็น[[ภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน]] เกิดใน[[ประเทศกรีซ]] และเคยเป็นภาษาพูดตามชายฝั่งของ[[เอเชียไมเนอร์]]และทางใต้ของ[[ประเทศอิตาลี]]ในยุคโบราณ มีการพูดภาษาถิ่นจำนวนหนึ่ง เช่น [[ภาษาไอโอนิกกรีก|ไอโอนิก]] [[ภาษาดอริกกรีก|ดอริก]] และ[[ภาษาแอททิกกรีก|แอททิก]]

ภาษากรีกเป็นภาษาที่เก่าแก่ที่สุดในกลุ่มอินโด-ยูโรเปียน โดยมีหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรย้อนกลับไปเมื่อราว 3,400 ปีก่อน<ref name=":1">{{cite encyclopedia|title=Greek language|encyclopedia=[[Encyclopædia Britannica]]|publisher=Encyclopædia Britannica, Inc.|access-date=29 April 2014|url=http://www.britannica.com/EBchecked/topic/244595/Greek-language}}</ref> มีระบบการเขียนที่ใช้คือ[[อักษรกรีก]] ซึ่งใช้มากว่า 2,000 ปีจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีอิทธิพลต่อระบบการเขียนอื่น ๆ ด้วย เช่น [[อักษรลิเนียร์บี]] [[อักษรไซปรัส]]<ref>{{Cite book|title=A history of the Greek language : from its origins to the present|last=1922-|first=Adrados, Francisco Rodríguez|date=2005|publisher=Brill|isbn=978-90-04-12835-4|location=Leiden|oclc=59712402}}</ref> และยังเป็นรากฐานของระบบการเขียนอื่น ๆ อีกมากมาย ได้แก่ [[อักษรละติน]] [[อักษรซีริลลิก]] [[อักษรอาร์มีเนีย]] [[อักษรคอปติก]] [[อักษรกอธิก]] ฯลฯ นอกจากนี้คำในภาษากรีกยังถูกใช้เป็นรากศัพท์ของภาษาอื่น ๆ มากมาย


การเรียนการสอนภาษากรีกในประเทศไทยยังไม่แพร่หลายนัก ปัจจุบันมีเพียง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง<ref name="test">[http://joomla.ru.ac.th/human/greek.doc หลักสูตรภาษากรีก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง], รูปแบบไฟล์ .doc /สืบค้นเมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2555</ref> เท่านั้นที่ทำการสอนในระดับมหาวิทยาลัย{{อ้างอิง}}
การเรียนการสอนภาษากรีกในประเทศไทยยังไม่แพร่หลายนัก ปัจจุบันมีเพียง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง<ref name="test">[http://joomla.ru.ac.th/human/greek.doc หลักสูตรภาษากรีก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง], รูปแบบไฟล์ .doc /สืบค้นเมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2555</ref> เท่านั้นที่ทำการสอนในระดับมหาวิทยาลัย{{อ้างอิง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:46, 14 กุมภาพันธ์ 2564

กรีก
Ελληνικά (เอลีนิกา), Ελληνική γλώσσα (เอลีนิกี ฮลอสซา)
ประเทศที่มีการพูดกรีซ ไซปรัส และบางชุมชนในหลายประเทศ
จำนวนผู้พูด15 ล้านคน  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
รูปแบบก่อนหน้า
ระบบการเขียนอักษรกรีก
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการกรีซ ไซปรัส และ สหภาพยุโรป
รหัสภาษา
ISO 639-1el
ISO 639-2gre (B)
ell (T)
ISO 639-3ell

ภาษากรีก ซึ่งคนที่พูดและเขียนภาษานี้เรียกว่า เฮลเลนิก หรือ เอลเลนิกา (Ελληνικά) เป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เกิดในประเทศกรีซ และเคยเป็นภาษาพูดตามชายฝั่งของเอเชียไมเนอร์และทางใต้ของประเทศอิตาลีในยุคโบราณ มีการพูดภาษาถิ่นจำนวนหนึ่ง เช่น ไอโอนิก ดอริก และแอททิก

ภาษากรีกเป็นภาษาที่เก่าแก่ที่สุดในกลุ่มอินโด-ยูโรเปียน โดยมีหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรย้อนกลับไปเมื่อราว 3,400 ปีก่อน[1] มีระบบการเขียนที่ใช้คืออักษรกรีก ซึ่งใช้มากว่า 2,000 ปีจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีอิทธิพลต่อระบบการเขียนอื่น ๆ ด้วย เช่น อักษรลิเนียร์บี อักษรไซปรัส[2] และยังเป็นรากฐานของระบบการเขียนอื่น ๆ อีกมากมาย ได้แก่ อักษรละติน อักษรซีริลลิก อักษรอาร์มีเนีย อักษรคอปติก อักษรกอธิก ฯลฯ นอกจากนี้คำในภาษากรีกยังถูกใช้เป็นรากศัพท์ของภาษาอื่น ๆ มากมาย

การเรียนการสอนภาษากรีกในประเทศไทยยังไม่แพร่หลายนัก ปัจจุบันมีเพียง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง[3] เท่านั้นที่ทำการสอนในระดับมหาวิทยาลัย[ต้องการอ้างอิง]

ประเทศและบริเวณที่มีการพูด

ประเทศที่ใช้เป็นภาษาราชการ

บริเวณอื่น ๆ ที่มีการพูด

อ้างอิง

  1. "Greek language". Encyclopædia Britannica. Encyclopædia Britannica, Inc. สืบค้นเมื่อ 29 April 2014.
  2. 1922-, Adrados, Francisco Rodríguez (2005). A history of the Greek language : from its origins to the present. Leiden: Brill. ISBN 978-90-04-12835-4. OCLC 59712402.{{cite book}}: CS1 maint: numeric names: authors list (ลิงก์)
  3. หลักสูตรภาษากรีก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, รูปแบบไฟล์ .doc /สืบค้นเมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2555

ดูเพิ่ม