ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมาป่า"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เพิ่มเนื้อหา
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 69: บรรทัด 69:
หมาป่าเป็นสมาชิกที่ใหญ่ที่สุดของวงศ์สุนัข (Canidae) ตัวผู้มีน้ำหนักเฉลี่ย 40 กิโลกรัม (88 ปอนด์) และตัวเมีย 37 กิโลกรัม (82 ปอนด์). หมาป่ามีความยาวประมาณ 105–160 ซม. (41–63 นิ้ว) และสูงประมาณ 80–85 ซม. (31–33 นิ้ว). หมาป่ายังมีความแตกต่างจากวงศ์ Canis สายพันธุ์อื่น ด้วยรูปทรงหูและส่วนจมูก-ปาก (muzzle) ที่แหลมน้อยกว่า รวมไปถึงลำตัวที่สั้นกว่าและหางที่ยาวกว่า. อย่างไรก็ตามหมาป่ามีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับสายพันธุ์ Canis ที่มีขนาดเล็ก เช่น โคโยตี้และหมาใน และสามารถผสมพันธุ์ข้ามสายพันธุ์กับพวกมัน. ขนที่มีแถบสีของหมาป่ามักมีสีขาวสีน้ำตาลสีเทาและสีดำเป็นจุด ๆ แม้ว่าสายพันธุ์ย่อยในภูมิภาคอาร์กติกอาจมีสีขาวเกือบทั้งหมด.
หมาป่าเป็นสมาชิกที่ใหญ่ที่สุดของวงศ์สุนัข (Canidae) ตัวผู้มีน้ำหนักเฉลี่ย 40 กิโลกรัม (88 ปอนด์) และตัวเมีย 37 กิโลกรัม (82 ปอนด์). หมาป่ามีความยาวประมาณ 105–160 ซม. (41–63 นิ้ว) และสูงประมาณ 80–85 ซม. (31–33 นิ้ว). หมาป่ายังมีความแตกต่างจากวงศ์ Canis สายพันธุ์อื่น ด้วยรูปทรงหูและส่วนจมูก-ปาก (muzzle) ที่แหลมน้อยกว่า รวมไปถึงลำตัวที่สั้นกว่าและหางที่ยาวกว่า. อย่างไรก็ตามหมาป่ามีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับสายพันธุ์ Canis ที่มีขนาดเล็ก เช่น โคโยตี้และหมาใน และสามารถผสมพันธุ์ข้ามสายพันธุ์กับพวกมัน. ขนที่มีแถบสีของหมาป่ามักมีสีขาวสีน้ำตาลสีเทาและสีดำเป็นจุด ๆ แม้ว่าสายพันธุ์ย่อยในภูมิภาคอาร์กติกอาจมีสีขาวเกือบทั้งหมด.


ในบรรดาสมาชิกทั้งหมดของสกุล Canis หมาป่ามีความเชี่ยวชาญมากที่สุดสำหรับการล่าสัตว์ในยุทธวิธีแบบร่วมมือ โดยแสดงให้เห็นจากความสามารถในการปรับตัวทางกายภาพเพื่อจัดการกับเหยื่อขนาดใหญ่, ลักษณะทางสังคมที่มีความซับซ้อน, และพฤติกรรมการแสดงออกขั้นสูง. สุนัขป่ามักเดินทางในหน่วยครอบครัวขนาดเล็ก ซึ่งประกอบด้วยคู่ผสมพันธุ์พร้อมกับลูกหลานของพวกมัน. ลูกหลานที่เริ่มมีวุฒิภาวะทางเพศ อาจถูกปล่อยให้ไปตั้งฝูงย่อย (pack) ของตัวเอง เพื่อลดการแย่งชิงอาหารภายในกลุ่ม. นอกจากนี้ หมาป่ายังเป็นสัตว์ที่ผูกพันกับอาณาเขต และการต่อสู้เพื่อแย่งชิงและปกป้องอาณาเขตก็เป็นสาเหตุสำคัญของการตายของหมาป่า. หมาป่ามีพฤติกรรมเป็นสัตว์กินเนื้อ โดยมักล่าสัตว์เท้ากีบที่เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ในป่าเป็นอาหาร รวมไปถึงสัตว์ขนาดเล็ก, ปศุสัตว์, ซากสัตว์, และขยะ. หมาป่าตัวเดียวหรือร่วมกับคู่ผสมพันธุ์ มักจะมีอัตราความสำเร็จในการล่าสูงกว่าการล่าแบบฝูงใหญ่. เชื้อโรคและปรสิตโดยเฉพาะไวรัสพิษสุนัขบ้าอาจติดต่อสู่หมาป่าได้.
ในบรรดาสมาชิกทั้งหมดของสกุล Canis หมาป่ามีความเชี่ยวชาญมากที่สุดสำหรับการล่าสัตว์ในยุทธวิธีแบบร่วมมือ โดยแสดงให้เห็นจากความสามารถในการปรับตัวทางกายภาพเพื่อจัดการกับเหยื่อขนาดใหญ่, ลักษณะทางสังคมที่มีความซับซ้อน, และพฤติกรรมการแสดงออกขั้นสูง. สุนัขป่ามักเดินทางในหน่วยครอบครัวขนาดเล็ก ซึ่งประกอบด้วยคู่ผสมพันธุ์พร้อมกับลูกหลานของพวกมัน. ลูกหลานที่เริ่มมีวุฒิภาวะทางเพศ อาจถูกปล่อยให้ไปตั้งฝูงย่อย (pack) ของตัวเอง เพื่อลดการแย่งชิงอาหารภายในกลุ่ม. นอกจากนี้ หมาป่ายังเป็นสัตว์ที่ผูกพันกับอาณาเขต และการต่อสู้ระหว่างหมาป่าด้วยกันเพื่อแย่งชิงและปกป้องอาณาเขตก็เป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิต.
หมาป่ามีพฤติกรรมเป็นสัตว์กินเนื้อ โดยมักล่าสัตว์เท้ากีบที่เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ในป่าเป็นอาหาร รวมไปถึงสัตว์ขนาดเล็ก, ปศุสัตว์, ซากสัตว์, และขยะ. หมาป่าตัวเดียวหรือร่วมกับคู่ผสมพันธุ์ มักจะมีอัตราความสำเร็จในการล่าสูงกว่าการล่าแบบฝูงใหญ่. เชื้อโรคและปรสิตโดยเฉพาะไวรัสพิษสุนัขบ้าอาจติดต่อสู่หมาป่าได้.


ประชากรหมาป่าทั่วโลกได้รับการประเมินว่ามีประมาณ 300,000 ตัวในปี พ.ศ. 2546 และถือว่าเป็นสายพันธุ์มีความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์น้อย โดยสหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN). หมาป่ามีประวัติศาสตร์อันยาวนานในการติดต่อสัมพันธ์กับมนุษย์ โดยมักจะถูกเกลียดชังและถูกล่าในชุมชนที่ดำรงชีพโดยการเลี้ยงปศุสัตว์ ทั้งนี้เพราะหมาป่ามักโจมตีปศุสัตว์. แต่ในทางกลับกัน หมาป่าก็ได้รับความเคารพในสังคมเกษตรกรรมและนักล่าสัตว์. แม้ว่าความกลัวหมาป่าจะมีอยู่ในสังคมมนุษย์จำนวนมาก แต่หมาป่าก็ไม่นิยมเข้าทำร้ายมนุษย์โดยตรง และการเข้าโจมตีมนุษย์ส่วนใหญ่ก็เป็นผลมาจากสัตว์ที่ติดโรคพิษสุนัขบ้า. การเข้าทำร้ายมนุษย์โดยหมาป่านั้นเกิดขึ้นได้ยากเนื่องจากหมาป่ามีจำนวนประชากรน้อย อาศัยอยู่ห่างไกลจากผู้คนและมีความหวาดกลัวมนุษย์.
ประชากรหมาป่าทั่วโลกได้รับการประเมินว่ามีประมาณ 300,000 ตัวในปี พ.ศ. 2546 และถือว่าเป็นสายพันธุ์มีความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์น้อย โดยสหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN). หมาป่ามีประวัติศาสตร์อันยาวนานในการติดต่อสัมพันธ์กับมนุษย์ โดยมักจะถูกเกลียดชังและถูกล่าในชุมชนที่ดำรงชีพโดยการเลี้ยงปศุสัตว์ ทั้งนี้เพราะหมาป่ามักโจมตีปศุสัตว์. แต่ในทางกลับกัน หมาป่าก็ได้รับความเคารพในสังคมเกษตรกรรมและนักล่าสัตว์. แม้ว่าความกลัวหมาป่าจะมีอยู่ในสังคมมนุษย์จำนวนมาก แต่หมาป่าก็ไม่นิยมเข้าทำร้ายมนุษย์โดยตรง และการเข้าโจมตีมนุษย์ส่วนใหญ่ก็เป็นผลมาจากสัตว์ที่ติดโรคพิษสุนัขบ้า. การเข้าทำร้ายมนุษย์โดยหมาป่านั้นเกิดขึ้นได้ยากเนื่องจากหมาป่ามีจำนวนประชากรน้อย อาศัยอยู่ห่างไกลจากผู้คนและมีความหวาดกลัวมนุษย์.

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:13, 12 กุมภาพันธ์ 2564

หมาป่า
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่:
สมัยไพลสโตซีนตอนกลาง–ปัจจุบัน (810,000–0 ปีก่อนปัจจุบัน)[1]
เสียงหมาป่าหอน
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
โดเมน: ยูแคริโอตา
อาณาจักร: สัตว์
ไฟลัม: สัตว์มีแกนสันหลัง
ชั้น: สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
อันดับ: อันดับสัตว์กินเนื้อ
วงศ์: Canidae
เผ่าย่อย: Canina
สกุล: Canis
ชื่อทวินาม
Canis lupus
Linnaeus, 1758
ชนิดย่อย
  • C. l. albus
  • C. l. arabs
  • C. l. campestris
  • C. l. chanco
  • C. l. dingo
  • C. l. familiaris
  • C. l. filchneri
  • C. l. lupus
  • C. l. pallipes
  • C. l. arctos
  • C. l. baileyi
  • C. l. columbianus
  • C. l. crassodon
  • C. l. hudsonicus
  • C. l. irremotus
  • C. l. labradorius
  • C. l. ligoni
  • C. l. lycaon
  • C. l. mackenzii
  • C. l. manningi
  • C. l. occidentalis
  • C. l. orion
  • C. l. pambasileus
  • C. l. rufus
  • C. l. tundrarum
  • † C. l. alces
  • † C. l. beothucus
  • † C. l. bernardi
  • † C. l. floridanus
  • † C. l. fuscus
  • † C. l. gregoryi
  • † C. l. griseoalbus
  • † C. l. hattai
  • † C. l. hodophilax
  • † C. l. mogollonensis
  • † C. l. monstrabilis
  • † C. l. nubilus
  • † C. l. youngi
  • † Canis lupus cristaldii
แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์ของหมาป่า

หมาป่า หรือ สุนัขป่า หรือ หมาป่าสีเทา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Canis lupus) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม จัดอยู่ในวงศ์สุนัข (Canidae) โดยเป็นสามชิกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์สุนัข มีสัตว์ร่วมตระกูลคือ หมาจิ้งจอก หมาใน ไคโยตี หมาบ้านและดิงโก. หมาป่าจัดอยู่ในสัตว์ประเภทกินเนื้อที่มีนิสัยค่อนข้างดุร้าย ปราดเปรียว เฉลียวฉลาด มีการออกล่าเป็นทีม มีความอดทนรวมทั้งมีความกล้าหาญและความสามารถในการต่อสู้อย่างดีเยี่ยม. หมาป่าอาศัยอยู่อย่างกระจัดกระจายในแถบทวีปยุโรป โดยในอดีตมีถึง 32 สายพันธุ์ และเป็นนักล่าที่มีพลังกัดมหาศาล.

หมาป่าเป็นสมาชิกที่ใหญ่ที่สุดของวงศ์สุนัข (Canidae) ตัวผู้มีน้ำหนักเฉลี่ย 40 กิโลกรัม (88 ปอนด์) และตัวเมีย 37 กิโลกรัม (82 ปอนด์). หมาป่ามีความยาวประมาณ 105–160 ซม. (41–63 นิ้ว) และสูงประมาณ 80–85 ซม. (31–33 นิ้ว). หมาป่ายังมีความแตกต่างจากวงศ์ Canis สายพันธุ์อื่น ด้วยรูปทรงหูและส่วนจมูก-ปาก (muzzle) ที่แหลมน้อยกว่า รวมไปถึงลำตัวที่สั้นกว่าและหางที่ยาวกว่า. อย่างไรก็ตามหมาป่ามีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับสายพันธุ์ Canis ที่มีขนาดเล็ก เช่น โคโยตี้และหมาใน และสามารถผสมพันธุ์ข้ามสายพันธุ์กับพวกมัน. ขนที่มีแถบสีของหมาป่ามักมีสีขาวสีน้ำตาลสีเทาและสีดำเป็นจุด ๆ แม้ว่าสายพันธุ์ย่อยในภูมิภาคอาร์กติกอาจมีสีขาวเกือบทั้งหมด.

ในบรรดาสมาชิกทั้งหมดของสกุล Canis หมาป่ามีความเชี่ยวชาญมากที่สุดสำหรับการล่าสัตว์ในยุทธวิธีแบบร่วมมือ โดยแสดงให้เห็นจากความสามารถในการปรับตัวทางกายภาพเพื่อจัดการกับเหยื่อขนาดใหญ่, ลักษณะทางสังคมที่มีความซับซ้อน, และพฤติกรรมการแสดงออกขั้นสูง. สุนัขป่ามักเดินทางในหน่วยครอบครัวขนาดเล็ก ซึ่งประกอบด้วยคู่ผสมพันธุ์พร้อมกับลูกหลานของพวกมัน. ลูกหลานที่เริ่มมีวุฒิภาวะทางเพศ อาจถูกปล่อยให้ไปตั้งฝูงย่อย (pack) ของตัวเอง เพื่อลดการแย่งชิงอาหารภายในกลุ่ม. นอกจากนี้ หมาป่ายังเป็นสัตว์ที่ผูกพันกับอาณาเขต และการต่อสู้ระหว่างหมาป่าด้วยกันเพื่อแย่งชิงและปกป้องอาณาเขตก็เป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิต.

หมาป่ามีพฤติกรรมเป็นสัตว์กินเนื้อ โดยมักล่าสัตว์เท้ากีบที่เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ในป่าเป็นอาหาร รวมไปถึงสัตว์ขนาดเล็ก, ปศุสัตว์, ซากสัตว์, และขยะ. หมาป่าตัวเดียวหรือร่วมกับคู่ผสมพันธุ์ มักจะมีอัตราความสำเร็จในการล่าสูงกว่าการล่าแบบฝูงใหญ่. เชื้อโรคและปรสิตโดยเฉพาะไวรัสพิษสุนัขบ้าอาจติดต่อสู่หมาป่าได้.

ประชากรหมาป่าทั่วโลกได้รับการประเมินว่ามีประมาณ 300,000 ตัวในปี พ.ศ. 2546 และถือว่าเป็นสายพันธุ์มีความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์น้อย โดยสหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN). หมาป่ามีประวัติศาสตร์อันยาวนานในการติดต่อสัมพันธ์กับมนุษย์ โดยมักจะถูกเกลียดชังและถูกล่าในชุมชนที่ดำรงชีพโดยการเลี้ยงปศุสัตว์ ทั้งนี้เพราะหมาป่ามักโจมตีปศุสัตว์. แต่ในทางกลับกัน หมาป่าก็ได้รับความเคารพในสังคมเกษตรกรรมและนักล่าสัตว์. แม้ว่าความกลัวหมาป่าจะมีอยู่ในสังคมมนุษย์จำนวนมาก แต่หมาป่าก็ไม่นิยมเข้าทำร้ายมนุษย์โดยตรง และการเข้าโจมตีมนุษย์ส่วนใหญ่ก็เป็นผลมาจากสัตว์ที่ติดโรคพิษสุนัขบ้า. การเข้าทำร้ายมนุษย์โดยหมาป่านั้นเกิดขึ้นได้ยากเนื่องจากหมาป่ามีจำนวนประชากรน้อย อาศัยอยู่ห่างไกลจากผู้คนและมีความหวาดกลัวมนุษย์.

อ้างอิง

  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Tedford2009
  2. IUCN2008 Database entry includes justification for why this species is of least concern.

แหล่งข้อมูลอื่น