ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาโบโด"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 9254157 สร้างโดย Octahedron80 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
{{กล่องข้อมูล ภาษา
{{กล่องข้อมูล ภาษา
| name = ภาษาโบโด
| name = ภาษาโบโด
| nativename = बोड़ो
| nativename = बर'/बड़
| states = [[อินเดีย]], มีจำนวนน้อยใน [[เนปาล]]
| states = [[อินเดีย]], มีจำนวนน้อยใน [[เนปาล]]
| speakers = 603,000: 600,000 คนในอินเดีย (2540) , 3,301 คน ในเนปาล (2544)
| speakers = 603,000: 600,000 คนในอินเดีย (2540) , 3,301 คน ในเนปาล (2544)
บรรทัด 15: บรรทัด 15:
| iso2 = sit|iso3=brx}}
| iso2 = sit|iso3=brx}}


'''ภาษาโบโด''' (बोडो) จัดอยู่ใน[[ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า]] พูดโดยชาวโบโดที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของ[[อินเดีย]]และ[[เนปาล]] เคยเขียนด้วย[[อักษรละติน]] ปัจจุบันเขียนด้วย[[อักษรเทวนาครี]]
'''ภาษาโบโด''' (बर'/बड़) จัดอยู่ใน[[ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า]] พูดโดยชาวโบโดที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของ[[อินเดีย]]และ[[เนปาล]] เคยเขียนด้วย[[อักษรละติน]] ปัจจุบันเขียนด้วย[[อักษรเทวนาครี]]
== การจัดจำแนกและภาษาที่เกี่ยวข้อง ==
== การจัดจำแนกและภาษาที่เกี่ยวข้อง ==
ภาษาโบโดเป็นภาษาในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต มีความใกล้เคียงกับ[[ภาษาดีมาซา]]ใน[[อัสสัม]] และ[[ภาษากาโร]]ใน[[รัฐเมฆาลัย]] และใกล้เคียงกับ[[ภาษากอกบอรอก]]ใน[[รัฐตรีปุระ]]
ภาษาโบโดเป็นภาษาในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต มีความใกล้เคียงกับ[[ภาษาดีมาซา]]ใน[[อัสสัม]] และ[[ภาษากาโร]]ใน[[รัฐเมฆาลัย]] และใกล้เคียงกับ[[ภาษากอกบอรอก]]ใน[[รัฐตรีปุระ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:41, 11 กุมภาพันธ์ 2564

ภาษาโบโด
बर'/बड़
ประเทศที่มีการพูดอินเดีย, มีจำนวนน้อยใน เนปาล
จำนวนผู้พูด603,000: 600,000 คนในอินเดีย (2540) , 3,301 คน ในเนปาล (2544)  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรเทวนาครี
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการรัฐอัสสัม (อินเดีย)
รหัสภาษา
ISO 639-2sit
ISO 639-3brx

ภาษาโบโด (बर'/बड़) จัดอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า พูดโดยชาวโบโดที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดียและเนปาล เคยเขียนด้วยอักษรละติน ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรเทวนาครี

การจัดจำแนกและภาษาที่เกี่ยวข้อง

ภาษาโบโดเป็นภาษาในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต มีความใกล้เคียงกับภาษาดีมาซาในอัสสัม และภาษากาโรในรัฐเมฆาลัย และใกล้เคียงกับภาษากอกบอรอกในรัฐตรีปุระ

ประวัติ

ระบำของชาวโบโด

หลังจากมีการจัดตั้งองค์กรโบโดขึ้นใน พ.ศ. 2456 ได้มีการนำภาษานี้ไปเป็นสื่อในระดับมัธยมศึกษา และเป็นภาษาราชการร่วมของรัฐอัสสัม และมีการเปิดสอนรายวิชาด้วยภาษาโบโดในมหาวิทยาลัยคุวนตีใน พ.ศ. 2539 ภาษาโบโดยังมีหนังสือเกี่ยวกับกวีนิพนธ์ ละคร เรื่องสั้น นิยาย ชีวประวัติ หนังสือนำเที่ยว และหนังสือสำหรับเด็ก ภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวันจะได้รับอิทธิพลจากภาษาข้างเคียงเช่น ภาษาเบงกอล

ระบบการเขียน

การเขียนภาษาโบโดอย่างเป็นทางการใช้อักษรเทวนาครี แม้ว่าจะเคยใช้อักษรละตินและอักษรอัสสัมเป็นเวลานาน [1] นักวิจัยบางคนกล่าวว่าภาษานี้เคยมีอักษรเป็นของตนเองแต่สูญหายไปแล้ว เรียกอักษรเดโอได

อ้างอิง

  1. Prabhakara, M S Scripting a solution, The Hindu, May 19, 2005.

แหล่งข้อมูลอื่น