ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัตถุอาร์โรคอท"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AekwatNs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
AekwatNs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
| หลักการค้นพบ =
| หลักการค้นพบ =
| ชื่อดาวเคราะห์น้อย (MPC name) = '''(486958) Arrokoth'''
| ชื่อดาวเคราะห์น้อย (MPC name) = '''(486958) Arrokoth'''
| ชื่ออื่นๆ = Ultima Thule (อัลติม่า ทูเล)
| ชื่ออื่นๆ = Ultima Thule (อัลติมา ทูเล)
| ชนิดของดาวเคราะห์น้อย = [[วัตถุพ้นดาวเนปจูน]]<br>วัตถุใน[[แถบไคเปอร์]]
| ชนิดของดาวเคราะห์น้อย = [[วัตถุพ้นดาวเนปจูน]]<br>วัตถุใน[[แถบไคเปอร์]]
| orbit_ref =
| orbit_ref =

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:06, 4 กุมภาพันธ์ 2564

อาร์โรคอท
การค้นพบ
ค้นพบโดย:Marc William Buie
ยานนิวฮอไรซันส์
ค้นพบเมื่อ:14 มิถุนายน 2557
ชื่ออื่น ๆ:Ultima Thule (อัลติมา ทูเล)
ชนิดของดาวเคราะห์น้อย:วัตถุพ้นดาวเนปจูน
วัตถุในแถบไคเปอร์
ลักษณะของวงโคจร
ระยะจุดไกล
ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
46.442 หน่วยดาราศาสตร์
ระยะจุดใกล้
ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
42.721 หน่วยดาราศาสตร์
ความเยื้องศูนย์กลาง:0.04172
คาบดาราคติ:297.67 ปี
ลองจิจูด
ของจุดโหนดขึ้น
:
158.998°

วัตถุอาร์โรคอทนี้ถูกค้นพบเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2557 โดย Marc Buie นักดาราศาสตร์ชาวอเมริกัน และทีมงานผู้สร้างยานนิวฮอไรซันส์จากการใช้กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการสังเกตุวัตถุในแถบไคเปอร์ของภารกิจยานนิวฮอไรซันส์ วัตถุอาร์โรคอทนี้มีคาบดาราคติ(ความเร็วในการโคจรรอบดวงอาทิตย์) 298 ปี จากการสำรวจของยานนิวฮอไรซันส์พบว่าวัตถุอาร์โรคอทนี้แบนกว่าที่คิดไว้ ซึ่งเดิมทีนักดาราศาสตร์คาดว่ามีลักษณะกลมคล้ายตุ๊กตาหิมะ ด้วยลักษณะที่มีโค้งเว้าตรงกลางและพื้นผิวที่เรียบนี้ทำให้นักวิทยาศาสตร์เข้าใจการเกิดดาวเคราะห์มากขึ้น โดยจากการสำรวจครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าดาวเคราะห์ไม่ได้เกิดจากการชนกันของอุกกาบาต แต่เกิดจากการค่อยเกาะกันของเศษฝุ่นขนาดเล็ก ซึ่งหักล้างความแนวคิดเดิมที่ว่าดาวเคราะห์เกิดจากการชนกันของอุกกาบาต