ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอ่งปัตตานี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rameshe999 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:


== การเกิดแอ่งปัตตานี ==
== การเกิดแอ่งปัตตานี ==
เกิดตอนท่แผ่นเปลือกโลกอินเดีย ชนกับแผ่นยูเรเชียทำให้เกิการจมตัวกลายเป็นแอ่งสะสมตัวของตะกอนในยุคเทอร์เชียรี โดยมีลักษณะยาวเกิดมาจากรอยเลื่อนตัดผ่านคือรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ วางตัวแนวตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ และรอยเลื่อนระนองคลองมารุย วางตัวในแนวตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีรอยเลื่อนปกติ (normal fault) ที่ทำให้เกิดแอ่งต่าง ๆ วางตัวในแนวเหนือ-ใต้
เกิดตอนที่แผ่นเปลือกโลกอินเดีย ชนกับแผ่นยูเรเชียทำให้เกิการจมตัวกลายเป็นแอ่งสะสมตัวของตะกอนในยุคเทอร์เชียรี โดยมีลักษณะยาวเกิดมาจากรอยเลื่อนตัดผ่านคือรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ วางตัวแนวตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ และรอยเลื่อนระนองคลองมารุย วางตัวในแนวตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีรอยเลื่อนปกติ (normal fault) ที่ทำให้เกิดแอ่งต่าง ๆ วางตัวในแนวเหนือ-ใต้


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:11, 3 กุมภาพันธ์ 2564

แอ่งปัตตานี เป็นแอ่งสะสมตะกอนอายุเทอร์เชียรี อยู่ในอ่าวไทย เป็นแอ่งที่มีการสะสมตัวของก๊าซธรรมชาติ และ น้ำมัน เป็นแหล่งปิโตรเลียมที่สำคัญของประเทศไทย ซึ่งประกอบด้วยแอ่งย่อยหลาย ๆ แอ่ง อาทิ แอ่งเอราวัณ แอ่งปลาทอง แอ่งไพลิน แอ่งบรรพต เป็นต้น โดยมีลักษณะการวางตัวตามแนวเหนือ-ใต้ มีลักษณะเป็นแอ่งย่อยโดยลักษณะแคบและยาวเป็นทั้งกึ่งกราเบนและกราเบน มีความกว้างประมาณ 70 กิโลเมตร และยาวประมาณ 400 กิโลเมตร โดยอยู่ใกล้กับแอ่งมลายู วางตัวแบบรอยชั้นไม่ต่อเนื่องอยู่บนหินแกรนิตยุคครีเทเชียสและหินแปรมหายุคพาลีโอโซอิกโดยตะกอนที่สะสมตัวช่วงสมัยโอลิโกซีนนั้น เป็นตะกอนน้ำพา (Alluvial) ทะเลสาบ (Lacustrine) ธารน้ำพา (Fluviatile) และทะเลน้ำตื้น (Shallow Marine) มีความหนาไม่เท่ากันโดยที่ชั้นตะกอน Main Basinal Area หนา 8 กม. ในขณะที่ Western Graben Area จะหนาเพียง 4.5 กม. หรือน้อยกว่านี้ หินพื้นฐานเท่าที่พบเป็น Cretaceous granite และ Permian carbonates

การเกิดแอ่งปัตตานี

เกิดตอนที่แผ่นเปลือกโลกอินเดีย ชนกับแผ่นยูเรเชียทำให้เกิการจมตัวกลายเป็นแอ่งสะสมตัวของตะกอนในยุคเทอร์เชียรี โดยมีลักษณะยาวเกิดมาจากรอยเลื่อนตัดผ่านคือรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ วางตัวแนวตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ และรอยเลื่อนระนองคลองมารุย วางตัวในแนวตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีรอยเลื่อนปกติ (normal fault) ที่ทำให้เกิดแอ่งต่าง ๆ วางตัวในแนวเหนือ-ใต้

อ้างอิง

  • ธรณีวิทยาบริเวณอ่าวไทย กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  • การสำรวจ GRAVITY กึ่งรายละเอียดแอ่งยะหาแอ่งสะบ้าย้อยแอ่งจะนะแอ่งปัตตานี งานบริการวิชาการ กองบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • บทความ ศักยภาพปิโตรเลียม กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ
  • ศุภฤกษ์ สิตะหิรัญ และสมบูรณ์ วัชระชัยสุรพล. “การสำรวจขุดเจาะปิโตเลียม ในประเทศไทย” ความรู้คือประทีป ฉบับที่ 2/2542 หน้า 6-17
  • http://www.dmf.go.th/dmfweb/images/stories/flash/lyt_02(1).swf