ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เขตการปกครองของประเทศพม่า"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 258: บรรทัด 258:
| รัฐ
| รัฐ
|-
|-
| [[ไฟล์:Flag of Naypyidaw Union Territory.png|75px]]
|
| [[ดินแดนสหภาพเนปยีดอ]]
| [[ดินแดนสหภาพเนปยีดอ]]
| {{my|နေပြည်တော်}} {{my|ပြည်ထောင်စုနယ်မြေ}}
| {{my|နေပြည်တော်}} {{my|ပြည်ထောင်စုနယ်မြေ}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:06, 2 กุมภาพันธ์ 2564

เขตการปกครองของประเทศพม่า
เขตการปกครองของประเทศพม่า
หมวดหมู่รัฐเดี่ยว
ที่ตั้งสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา
จำนวน7 เขต, 7 รัฐ, 1 ดินแดนสหภาพ, 6 พื้นที่ปกครองตนเอง (ณ 2015)
ประชากรน้อยที่สุด 286,627 คน (รัฐกะยา) – มากที่สุด 7,360,703 คน (เขตย่างกุ้ง)
พื้นที่น้อยที่สุด 7,054 ตร.กม. (ดินแดนสหภาพเนปีดอ) – มากที่สุด 155,801 ตร.กม. (รัฐชาน)
การปกครองรัฐบาลพม่า
หน่วยการปกครองจังหวัด
อำเภอ
ตำบล
หมู่บ้าน

ประเทศพม่าแบ่งการปกครองระดับบนสุดออกเป็น 21 หน่วยเขตการปกครอง ซึ่งประกอบไปด้วย 7 รัฐ, 7 เขต, 1 ดินแดนสหภาพ, 5 พื้นที่ปกครองตนเอง และ 1 เขตปกครองตนเอง

เขตของประเทศพม่า 5 แห่งมีชื่อเดียวกันกับเมืองเอก ยกเว้นเขตอิรวดี และเขตตะนาวศรี เขตการปกครองประเภทเขตนี้สามารถบ่งบอกได้ว่ามีประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวพม่า ขณะที่รัฐ พื้นที่ปกครองตนเอง และเขตปกครองตนเอง มีประชากรส่วนใหญ่เป็นชนกลุ่มน้อย

เขตย่างกุ้งเป็นเขตที่มีประชากรมากที่สุดและมีความหนาแน่นมากที่สุด ส่วนรัฐกะยามีประชากรน้อยที่สุด ในแง่ของพื้นที่ รัฐชานมีพื้นที่ใหญ่ที่สุด ส่วนดินแดนสหภาพเนปยีดอมีพื้นที่เล็กที่สุด

ลำดับชั้นเขตการปกครอง

ระดับ ระดับที่ 1 ระดับที่ 2 ระดับที่ 3 ระดับที่ 4 ระดับที่ 5
ประเภท
เขตการปกครอง
ดินแดนสหภาพ
(ပြည်တောင်စုနယ်မြေ)
จังหวัด
(ခရိုင်)
อำเภอ
(မြို့နယ်)
แขวง
(ရပ်ကွက်)
-
เขต
(တိုင်းဒေသကြီး)
รัฐ
(ပြည်နယ်)
-
ตำบล
(ကျေးရွာအုပ်စု)
หมู่บ้าน
(ကျေးရွာ)
เขตปกครองตนเอง
(ကိုယ်ပိုင်အုပ်ချုပ်ခွင့်ရတိုင်း)
-
พื้นที่ปกครองตนเอง
(ကိုယ်ပိုင်အုပ်ချုပ်ခွင့်ရဒေသ)
-

รายชื่อเขตการปกครอง

รัฐ เขต และดินแดนสหภาพ

ธง ชื่อ ภาษาพม่า เมืองเอก รหัสไอเอสโอ[1] ภูมิภาค ประชากร (ค.ศ. 2014) พื้นที่ (ตร.กม.) ประเภท
เขตซะไกง์ စစ်ကိုင်းတိုင်းဒေသကြီး ซะไกง์ MM-01 เหนือ 5,325,347[2] 93,704.8 เขต
เขตตะนาวศรี တနင်္သာရီတိုင်းဒေသကြီး ทวาย MM-05 ใต้ 1,408,401[2] 44,344.9 เขต
เขตพะโค ပဲခူးတိုင်းဒေသကြီး พะโค MM-02 ตอนล่าง 4,867,373[2] 39,402.3 เขต
เขตมะกเว မကွေးတိုင်းဒေသကြီး มะกเว MM-03 กลาง 3,917,055[2] 44,820.6 เขต
เขตมัณฑะเลย์ မန္တလေးတိုင်းဒေသကြီး มัณฑะเลย์ MM-04 กลาง 6,165,723[2] 37,945.6 เขต
เขตย่างกุ้ง ရန်ကုန်တိုင်းဒေသကြီး ย่างกุ้ง MM-06 ตอนล่าง 7,360,703[2] 10,276.7 เขต
เขตอิรวดี ဧရာဝတီတိုင်းဒေသကြီး พะสิม MM-07 ตอนล่าง 6,184,829[2] 35,031.8 เขต
รัฐกะชีน ကချင်ပြည်နယ် มยิจีนา MM-11 เหนือ 1,689,441[2] 89,041.8 รัฐ
รัฐกะยา ကယားပြည်နယ် ลอยกอ MM-12 ตะวันออก 286,627[2] 11,731.5 รัฐ
รัฐกะเหรี่ยง ကရင်ပြည်နယ် พะอาน MM-13 ใต้ 1,574,079[2] 30,383 รัฐ
รัฐชาน ရှမ်းပြည်နယ် ตองจี MM-17 ตะวันออก 5,824,432[2] 155,801.3 รัฐ
รัฐชีน ချင်းပြည်နယ် ฮ่าค่า MM-14 ตะวันตก 478,801[2] 36,018.8 รัฐ
รัฐมอญ မွန်ပြည်နယ် เมาะลำเลิง MM-15 ใต้ 2,054,393[2] 12,296.6 รัฐ
รัฐยะไข่ ရခိုင်ပြည်နယ် ซิตเว MM-16 ตะวันตก 3,188,807[2] 36,778.0 รัฐ
ดินแดนสหภาพเนปยีดอ နေပြည်တော် ပြည်ထောင်စုနယ်မြေ เนปยีดอ MM-18 กลาง 1,160,242[2] 7,054 ดินแดนสหภาพ

พื้นที่ปกครองตนเอง และเขตปกครองตนเอง

แผนที่แสดงพื้นที่ปกครองตนเอง และเขตปกครองตนเอง
ชื่อ ภาษาพม่า เมืองเอก ภูมิภาค ประชากร พื้นที่ (ตร.กม.) ประเภท ภาษา
พื้นที่ปกครองตนเองโกก้าง ကိုးကန့်ကိုယ်ပိုင်အုပ်ချုပ်ခွင့်ရဒေသ Laukkai ตะวันออก พื้นที่ปกครองตนเอง ภาษาจีนกลาง
พื้นที่ปกครองตนเองดะนุ ဓနုကိုယ်ပိုင်အုပ်ချုပ်ခွင့်ရဒေသ Pindaya ตะวันออก พื้นที่ปกครองตนเอง ภาษาดะนุ
พื้นที่ปกครองตนเองนาคา နာဂကိုယ်ပိုင်အုပ်ချုပ်ခွင့်ရဒေသ Lahe เหนือ พื้นที่ปกครองตนเอง ภาษานาคา
พื้นที่ปกครองตนเองปะหล่อง ပလောင်းကိုယ်ပိုင်အုပ်ချုပ်ခွင့်ရဒေသ Namhsan ตะวันออก พื้นที่ปกครองตนเอง ภาษาปะหล่อง
พื้นที่ปกครองตนเองปะโอ ပအိုဝ့်ကိုယ်ပိုင်အုပ်ချုပ်ခွင့်ရဒေသ Hopong ตะวันออก พื้นที่ปกครองตนเอง ภาษากะเหรี่ยงปะโอ
เขตปกครองตนเองว้า ဝကိုယ်ပိုင်အုပ်ချုပ်ခွင့်ရတိုင်း Hopang ตะวันออก เขตปกครองตนเอง ภาษาว้า

อ้างอิง

  1. ISO 3166-2:MM (ISO 3166-2 codes for the subdivision of Myanmar)
  2. 2.00 2.01 2.02 2.03 2.04 2.05 2.06 2.07 2.08 2.09 2.10 2.11 2.12 2.13 2.14 The Union Report: Census Report Volume 2. The 2014 Myanmar Population and Housing Census. Nay Pyi Taw: Ministry of Immigration and Population. 2015. p. 12.

แหล่งข้อมูลอื่น