ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าราชาธิราช"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 9221713 สร้างโดย 2405:9800:BA11:5665:1CA1:FFFE:AE8E:A4A6 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 29: บรรทัด 29:
}}
}}


'''พระเจ้าราชาธิราช''' ({{lang-my|ရာဇာဓိရာဇ်}}, {{IPA-my|jàza̰dəɹɪ̀ʔ|}} ''หย่าซาดะยิต''; ค.ศ. 1368–1421) มีพระนามเดิมว่า '''พญาน้อย'''<ref>[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์|นราธิปประพันธ์พงศ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ]]. ''พระราชพงศาวดารพม่า''. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี : ศรีปัญญา, 2550, หน้า 1125</ref> ({{lang-my|ဗညားနွဲ့}}, {{IPA-my|bəɲá nwɛ̰|}}) ทรงเป็นกษัตริย์[[ชาวมอญ|มอญ]]แห่ง[[ราชอาณาจักรหงสาวดี]] ระหว่างปี ค.ศ. 1384–1421 (พ.ศ. 1927–1964) ซึ่งได้รับการนับถือว่าเป็นหนึ่งในกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์มอญและพม่า พระองค์ประสบความสำเร็จ “หวัดดีครับผมคนหล่อ” ในการรวบรวมดินแดนที่พูด[[ภาษามอญ]]ทั้ง 3 แห่งใน[[พม่าตอนล่าง]]ให้เป็นเอกภาพ และสามารถต้านทานการรุกรานของ[[อาณาจักรอังวะ]]ซึ่งเป็นอาณาจักรของกลุ่มชนที่พูด[[ภาษาพม่า]]ใน[[พม่าตอนบน]]ไว้ได้ในช่วง[[สงครามสี่สิบปี]] (ค.ศ. 1385–1424)
'''พระเจ้าราชาธิราช''' ({{lang-my|ရာဇာဓိရာဇ်}}, {{IPA-my|jàza̰dəɹɪ̀ʔ|}} ''หย่าซาดะยิต''; ค.ศ. 1368–1421) มีพระนามเดิมว่า '''พญาน้อย'''<ref>[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์|นราธิปประพันธ์พงศ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ]]. ''พระราชพงศาวดารพม่า''. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี : ศรีปัญญา, 2550, หน้า 1125</ref> ({{lang-my|ဗညားနွဲ့}}, {{IPA-my|bəɲá nwɛ̰|}}) ทรงเป็นกษัตริย์[[ชาวมอญ|มอญ]]แห่ง[[ราชอาณาจักรหงสาวดี]] ระหว่างปี ค.ศ. 1384–1421 (พ.ศ. 1927–1964) ซึ่งได้รับการนับถือว่าเป็นหนึ่งในกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์มอญและพม่า พระองค์ประสบความสำเร็จในการรวบรวมดินแดนที่พูด[[ภาษามอญ]]ทั้ง 3 แห่งใน[[พม่าตอนล่าง]]ให้เป็นเอกภาพ และสามารถต้านทานการรุกรานของ[[อาณาจักรอังวะ]]ซึ่งเป็นอาณาจักรของกลุ่มชนที่พูด[[ภาษาพม่า]]ใน[[พม่าตอนบน]]ไว้ได้ในช่วง[[สงครามสี่สิบปี]] (ค.ศ. 1385–1424)


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:56, 24 มกราคม 2564

ราชาธิราช
ရာဇာဓိရာဇ်
พระบรมรูปของพระเจ้าราชาธิราช
กษัตริย์แห่งราชอาณาจักรหงสาวดี
ครองราชย์23 มกราคม ค.ศ. 1384 – กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1421
ราชาภิเษก2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1384
แรม 10 ค่ำ เดือนตะโปแตฺว จ.ศ. 745 (ปฏิทินพม่า)[1]
ก่อนหน้าพระยาอู่
ถัดไปพญาธรรมราชา
ประสูติ28 มกราคม ค.ศ. 1368
ขึ้น 8 ค่ำ เดือนดะโบ่-ดแว จ.ศ. 729[2]
โดนวู่น (ใกล้เมืองเมาะตะมะ)
สวรรคตกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1421 (53 พรรษา)
เดือนดะบ้อง จ.ศ. 782
พะโค
ชายาตละแม่ท้าว
พระนางปิยราชเทวี
Mwei Ohn-Naung
Mwei Auk
Mi U-Si
พระราชบุตรพ่อลาวแก่นท้าว
พญาธรรมราชา
พญารามที่ 1
พญาเกียรติ์แห่งเมาะตะมะ
พระนางเชงสอบู
พระนามเต็ม
พญาน้อย (ဗညားနွဲ့ [bəɲá nwɛ̰])
ราชวงศ์ราชวงศ์หงสาวดี (ราชวงศ์ฟ้ารั่ว)
พระราชบิดาพระยาอู่
พระราชมารดาพระนางสิริมายาเทวีมุเตียว
ศาสนาศาสนาพุทธ นิกายเถรวาท

พระเจ้าราชาธิราช (พม่า: ရာဇာဓိရာဇ်, [jàza̰dəɹɪ̀ʔ] หย่าซาดะยิต; ค.ศ. 1368–1421) มีพระนามเดิมว่า พญาน้อย[3] (พม่า: ဗညားနွဲ့, [bəɲá nwɛ̰]) ทรงเป็นกษัตริย์มอญแห่งราชอาณาจักรหงสาวดี ระหว่างปี ค.ศ. 1384–1421 (พ.ศ. 1927–1964) ซึ่งได้รับการนับถือว่าเป็นหนึ่งในกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์มอญและพม่า พระองค์ประสบความสำเร็จในการรวบรวมดินแดนที่พูดภาษามอญทั้ง 3 แห่งในพม่าตอนล่างให้เป็นเอกภาพ และสามารถต้านทานการรุกรานของอาณาจักรอังวะซึ่งเป็นอาณาจักรของกลุ่มชนที่พูดภาษาพม่าในพม่าตอนบนไว้ได้ในช่วงสงครามสี่สิบปี (ค.ศ. 1385–1424)

อ้างอิง

เชิงอรรถ
  1. Pan Hla 2004: 161
  2. Pan Hla 2004: 196
  3. นราธิปประพันธ์พงศ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ. พระราชพงศาวดารพม่า. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี : ศรีปัญญา, 2550, หน้า 1125
บรรณานุกรม
  • Jon Fernquest (Spring 2006). "Rajadhirat's Mask of Command: Military Leadership in Burma (c. 1384–1421)" (PDF). SBBR. 4 (1).
  • Harvey, G. E. (1925). History of Burma: From the Earliest Times to 10 March 1824. London: Frank Cass & Co. Ltd.
  • Htin Aung, Maung (1967). A History of Burma. New York and London: Cambridge University Press.
  • Pan Hla, Nai (1968). Razadarit Ayedawbon (ภาษาพม่า) (8th printing, 2004 ed.). Yangon: Armanthit Sarpay.
  • Phayre, Major Gen. Sir Arthur P. (1873). "The History of Pegu". Journal of Asiatic Society of Bengal. Oxford University. 42.
  • Phayre, Lt. Gen. Sir Arthur P. (1883). History of Burma (1967 ed.). London: Susil Gupta.
  • Royal Historical Commission of Burma (1832). Hmannan Yazawin (ภาษาพม่า). Vol. 1–3 (2003 ed.). Yangon: Ministry of Information, Myanmar.
  • Shorto, H.L. (1963). "The 32 "Myos" in the Medieval Mon Kingdom". Bulletin of the School of Oriental and African Studies, University of London. Cambridge University Press. 26 (3). JSTOR 611567.