ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดจอมสุดาราม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dharmadana (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 38: บรรทัด 38:
'''วัดจอมสุดาราม''' เป็น[[วัดราษฎร์]]สังกัดคณะสงฆ์ฝ่าย[[มหานิกาย]] ตั้งอยู่ใน[[แขวงถนนนครไชยศรี]] [[เขตดุสิต]] [[กรุงเทพมหานคร]]
'''วัดจอมสุดาราม''' เป็น[[วัดราษฎร์]]สังกัดคณะสงฆ์ฝ่าย[[มหานิกาย]] ตั้งอยู่ใน[[แขวงถนนนครไชยศรี]] [[เขตดุสิต]] [[กรุงเทพมหานคร]]


วัดจอมสุดารามสร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2390 โดยเจ้าจอมมารดาพระสนมเอก ใน[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] มีนามว่า "วัดจอมสุดาราม" แต่ชาวบ้านนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า '''วัดไพรงาม''' ได้รับพระราชทาน[[วิสุงคามสีมา]]เมื่อ พ.ศ. 2404<ref>กรมศาสนา. ''ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เล่ม 2''</ref><ref>กรมศิลปากร. ฝ่ายทะเบียนโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุและช่างอนุรักษ์. ''รายงานการสำรวจขึ้นทะเบียนโบราณสถาน'', พ.ศ. 2539.</ref> ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานที่ประกาศลงทะเบียนแล้วเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2539<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=113|issue=พิเศษ 50 ง|pages=1|title=ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน|URL=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2539/E/050/1.PDF|date=13 กันยายน 2539|language=}}</ref>
วัดจอมสุดารามสร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2390 เป็นอดีตตำหนักของ[[พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดาราวดี]] มีนามว่า "วัดจอมสุดาราม" แต่ชาวบ้านนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า '''วัดไพรงาม''' ได้รับพระราชทาน[[วิสุงคามสีมา]]เมื่อ พ.ศ. 2404<ref>กรมศาสนา. ''ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เล่ม 2''</ref><ref>กรมศิลปากร. ฝ่ายทะเบียนโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุและช่างอนุรักษ์. ''รายงานการสำรวจขึ้นทะเบียนโบราณสถาน'', พ.ศ. 2539.</ref> ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานที่ประกาศลงทะเบียนแล้วเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2539<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=113|issue=พิเศษ 50 ง|pages=1|title=ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน|URL=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2539/E/050/1.PDF|date=13 กันยายน 2539|language=}}</ref>


อาคารเสนาสนะประกอบด้วยพระ[[อุโบสถ]] มีลักษณะเป็นทางศิลปะสถาปัตยกรรมอาคารก่ออิฐถือปูน มีลวดลายปูนปั้นประดับที่บริเวณ[[หน้าบัน]]ของประตูทางเข้าที่ผนัง และเพดาน ภายในพระอุโบสถมีภาพ[[จิตรกรรมฝาผนัง]] ภายนอกพระอุโบสถ มีใบเสมาคู่ [[เจดีย์]][[ย่อมุม]]ไม้สิบสองและตุ๊กตาสิงห์ของจีนทำด้วยหิน อยู่เป็นระยะ ๆ ล้อมรอบด้วย[[กำแพงแก้ว]] นอกจากนี้ยังมี พระพุทธรูปศิลาสมัยสุโขทัย เรียกกันโดยทั่วไปว่า ''หลวงพ่อโพธิ์'' อาคารเสนาสนะอื่น ๆ ได้แก่ วิหาร รอยพระพุทธบาท หอระฆัง ศาลาท่าน้ำ<ref>{{cite web|url=http://gis.finearts.go.th/fineart/|title=วัดจอมสุดาราม|publisher=ระบบภูมิสารสนเทศ แหล่งมรดกทางศิลปวัฒนธรรม}}</ref>
อาคารเสนาสนะประกอบด้วยพระ[[อุโบสถ]] มีลักษณะเป็นทางศิลปะสถาปัตยกรรมอาคารก่ออิฐถือปูน มีลวดลายปูนปั้นประดับที่บริเวณ[[หน้าบัน]]ของประตูทางเข้าที่ผนัง และเพดาน ภายในพระอุโบสถมีภาพ[[จิตรกรรมฝาผนัง]] ภายนอกพระอุโบสถ มีใบเสมาคู่ [[เจดีย์]][[ย่อมุม]]ไม้สิบสองและตุ๊กตาสิงห์ของจีนทำด้วยหิน อยู่เป็นระยะ ๆ ล้อมรอบด้วย[[กำแพงแก้ว]] นอกจากนี้ยังมี พระพุทธรูปศิลาสมัยสุโขทัย เรียกกันโดยทั่วไปว่า ''หลวงพ่อโพธิ์'' อาคารเสนาสนะอื่น ๆ ได้แก่ วิหาร รอยพระพุทธบาท หอระฆัง ศาลาท่าน้ำ<ref>{{cite web|url=http://gis.finearts.go.th/fineart/|title=วัดจอมสุดาราม|publisher=ระบบภูมิสารสนเทศ แหล่งมรดกทางศิลปวัฒนธรรม}}</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:17, 23 มกราคม 2564

วัดจอมสุดาราม
แผนที่
ชื่อสามัญวัดจอมสุดาราม, วัดไพรงาม
ที่ตั้งแขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร
ประเภทวัดราษฎร์
นิกายมหานิกาย
พระพุทธรูปสำคัญหลวงพ่อโพธิ์
พระพุทธศาสนา ส่วนหนึ่งของสารานุกรมพระพุทธศาสนา

วัดจอมสุดาราม เป็นวัดราษฎร์สังกัดคณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย ตั้งอยู่ในแขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

วัดจอมสุดารามสร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2390 เป็นอดีตตำหนักของพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดาราวดี มีนามว่า "วัดจอมสุดาราม" แต่ชาวบ้านนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า วัดไพรงาม ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ. 2404[1][2] ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานที่ประกาศลงทะเบียนแล้วเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2539[3]

อาคารเสนาสนะประกอบด้วยพระอุโบสถ มีลักษณะเป็นทางศิลปะสถาปัตยกรรมอาคารก่ออิฐถือปูน มีลวดลายปูนปั้นประดับที่บริเวณหน้าบันของประตูทางเข้าที่ผนัง และเพดาน ภายในพระอุโบสถมีภาพจิตรกรรมฝาผนัง ภายนอกพระอุโบสถ มีใบเสมาคู่ เจดีย์ย่อมุมไม้สิบสองและตุ๊กตาสิงห์ของจีนทำด้วยหิน อยู่เป็นระยะ ๆ ล้อมรอบด้วยกำแพงแก้ว นอกจากนี้ยังมี พระพุทธรูปศิลาสมัยสุโขทัย เรียกกันโดยทั่วไปว่า หลวงพ่อโพธิ์ อาคารเสนาสนะอื่น ๆ ได้แก่ วิหาร รอยพระพุทธบาท หอระฆัง ศาลาท่าน้ำ[4]

อ้างอิง

  1. กรมศาสนา. ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เล่ม 2
  2. กรมศิลปากร. ฝ่ายทะเบียนโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุและช่างอนุรักษ์. รายงานการสำรวจขึ้นทะเบียนโบราณสถาน, พ.ศ. 2539.
  3. "ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 113 (พิเศษ 50 ง): 1. 13 กันยายน 2539.
  4. "วัดจอมสุดาราม". ระบบภูมิสารสนเทศ แหล่งมรดกทางศิลปวัฒนธรรม.