ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สังวรณ์ สุวรรณชีพ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
|death_date = {{วันตาย-อายุ|2515|10|7|2444|7|14}}
|death_date = {{วันตาย-อายุ|2515|10|7|2444|7|14}}
|birth_place = [[เขตบางกอกน้อย]] [[กรุงเทพมหานคร]]
|birth_place = [[เขตบางกอกน้อย]] [[กรุงเทพมหานคร]]
| honorific-prefix = [[พลเรือตรี]]
| honorific-suffix = <br>[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย|ป.ม.]]
}}
}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:29, 16 มกราคม 2564

สังวรณ์ สุวรรณชีพ
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด14 กรกฎาคม พ.ศ. 2444
เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร
เสียชีวิต7 ตุลาคม พ.ศ. 2515 (71 ปี)
คู่สมรสคุณหญิง เฉลิม สุวรรณชีพ
บุพการี
  • สุด สุวรรณชีพ (บิดา)
  • สอน สุวรรณชีพ (มารดา)
ศิษย์เก่าโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
โรงเรียนนายเรือ
สังวรณ์ สุวรรณชีพ
ประจำการ2464-2490
ชั้นยศ พลเรือตรี
บังคับบัญชากรมตำรวจ
คู่สมรสคุณหญิงเฉลิม สุวรรณชีพ

พลเรือตรี สังวรณ์ สุวรรณชีพ (หลวงสังวรยุทธกิจ) (14 กรกฎาคม 2444–7 ตุลาคม 2515) นักการเมืองและทหารเรือชาวไทย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม สารวัตรใหญ่ทหาร เจ้ากรมเตรียมการทหาร และหนึ่งในสมาชิก คณะราษฎร

ประวัติ

พลเรือตรีสังวรณ์เกิดเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2444 ที่ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรชายของ นายสุด และ นางสอน สุวรรณชีพ จบการศึกษาจาก โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และ โรงเรียนนายเรือ

ด้านชีวิตครอบครัวสมรสกับ คุณหญิง เฉลิม สุวรรณชีพ มีบุตร-ธิดา ทั้งสิ้น 12 คน

รับราชการ

  • พ.ศ. 2487 - กลับเข้ารับราชการในตำแหน่งสารวัตรใหญ่ทหาร[1]
  • 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2488 - ควบตำแหน่งเจ้ากรมเตรียมการทหารอีกตำแหน่งหนึ่ง [2]
  • 1 มกราคม พ.ศ. 2489 - พ้นจากตำแหน่งเจ้ากรมเตรียมการทหาร[3]
  • 30 เมษายน พ.ศ. 2490 - สำรองราชการกองบังคับการสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมและรักษาราชการสารวัตรใหญ่ทหารอีกตำแหน่งหนึ่ง[4]
  • 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 - พ้นจากสำรองราชการกองบังคับการสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม รักษาราชการสารวัตรใหญ่ทหาร และออกจากประจำการ[5][6]

ยศ

  • 24 มีนาคม พ.ศ. 2464 - เรือตรี [7]
  • 19 เมษายน พ.ศ. 2467 - เรือโท[8]
  • - เรือเอก
  • 1 เมษายน พ.ศ. 2477 - นาวาตรี [9]
  • 1 เมษายน พ.ศ. 2481 - นาวาโท [10]
  • 1 เมษายน พ.ศ. 2483 - นาวาเอก [11]
  • 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2487 - พลเรือตรี[12]

บรรดาศักดิ์

  • 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 - หลวงสังวรยุทธกิจ ศักดินา ๘๐๐[13]

งานการเมือง

  • 9 ธันวาคม พ.ศ. 2476 - ได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2[14]
  • 20 ธันวาคม พ.ศ. 2481 - ได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี[15]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ
  2. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ
  3. ประกาศกระทรวงกลาโหม เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ
  4. ประกาศกระทรวงกลาโหม เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ
  5. คำสั่งทหารแห่งประเทศไทย ที่ ๑๑/๙๐ เรื่อง ให้นายทหารรับราชการและออกจากประจำการ
  6. ประกาศกระทรวงกลาโหม เรื่อง ให้นายทหารรับราชการและออกประจำการ
  7. พระราชทานยศทหารเรือ (หน้า ๙)
  8. พระราชทานยศ
  9. ประกาศ เรื่อง พระราชทานยศทหารเรือ (หน้า ๔๐๘)
  10. พระราชทานยศทหาร (หน้า ๔๓๗)
  11. ประกาศกระทรวงกลาโหม เรื่อง พระราชทานยศทหาร (หน้า ๕๕๓)
  12. พระราชทานยศทหาร (หน้า ๒๒๙๐)
  13. พระราชทานบรรดาศักดิ์ (หน้า ๖๓๙)
  14. พระราชกฤษฎีกา ตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ ๒ พุทธศักราช ๒๔๗๖ (หน้า ๘๒๑)
  15. พระบรมราชโองการ ประกาศตั้งและแต่งตั้งรัฐมนตรี (หน้า ๗๑๑)
  16. แจ้งความ พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลาไปพระราชทาน (หน้า ๒๙๙๑)
  17. แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (หน้า ๑๙๔๖)