ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Golf-ben10 (คุย | ส่วนร่วม)
Golf-ben10 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 825: บรรทัด 825:
* [[จังหวัดนครจัมปาศักดิ์]] โรงเรียนมัธยมศึกษาสมบูรณ์จำปาศักดิ์ (ໂຮງຮຽນມັດທະຍົມສຶກສາສົມບູນຈຳປາສັກ)
* [[จังหวัดนครจัมปาศักดิ์]] โรงเรียนมัธยมศึกษาสมบูรณ์จำปาศักดิ์ (ໂຮງຮຽນມັດທະຍົມສຶກສາສົມບູນຈຳປາສັກ)
* [[จังหวัดพิบูลสงคราม]]
* [[จังหวัดพิบูลสงคราม]]
* [[จังหวัดพระตะบอง]]
* [[จังหวัดพระตะบอง]] โรงเรียนมัธยมพระมุนีวงศ์ (វិទ្យាល័យ​ព្រះមុនីវង្ស)
* [[จังหวัดปัจจันตคิรีเขตร|จังหวัดประจันตคีรีเขต]]
* [[จังหวัดปัจจันตคิรีเขตร|จังหวัดประจันตคีรีเขต]]
* [[จังหวัดศรีโสภณ]]
* [[จังหวัดศรีโสภณ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:14, 8 มกราคม 2564

รายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย เป็นบทความที่รวบรวมรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดโดยจำแนกตามจังหวัด

ภาคเหนือ

จังหวัด ชื่อโรงเรียน ก่อตั้ง หมายเหตุ
เชียงราย โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม พ.ศ. 2451[1] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดเชียงราย “สามัคคีวิทยาคม”
โรงเรียนดำรงราษฎร์สงเคราะห์ พ.ศ. 2476[2] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดเชียงราย “ดำรงราษฎร์สงเคราะห์”
เชียงใหม่ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย พ.ศ. 2432[3] เดิมชื่อโรงเรียนประจำมณฑลพายัพ “ยุพราชวิทยาลัย”
โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ พ.ศ. 2449[4] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำมณฑลพายัพ “วัฒโนทัยพายัพ”
น่าน โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร พ.ศ. 2450[5] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดน่าน “ศรีสวัสดิ์วิทยาคาร”
โรงเรียนสตรีศรีน่าน พ.ศ. 2468[6] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดน่าน “สตรีศรีน่าน”
พะเยา โรงเรียนพะเยาพิทยาคม พ.ศ. 2479[7] เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดโดยพฤตินัยหลังจากการจัดตั้งจังหวัดพะเยาเมื่อปี พ.ศ. 2520
แพร่ โรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่ พ.ศ. 2444[8] เดิมชื่อโรงเรียนประจำมณฑลมหาราษฎร์ “พิริยาลัย”
โรงเรียนนารีรัตน์จังหวัดแพร่ พ.ศ. 2464[9] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำมณฑลมหาราษฎร์ “นารีรัตน์”
แม่ฮ่องสอน โรงเรียนห้องสอนศึกษา พ.ศ. 2445[10] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดแม่ฮ่องสอน “ห้องสอนศึกษา”
ลำปาง โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย พ.ศ. 2441[11] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดลำปาง “บุญวาทย์วิทยาลัย”
โรงเรียนลำปางกัลยาณี พ.ศ. 2458[12] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดลำปาง “ลำปางกัลยาณี”
ลำพูน โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน พ.ศ. 2447[13] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดลำพูน “จักรคำคณาทร”
โรงเรียนส่วนบุญโญปถัมภ์ ลำพูน พ.ศ. 2472[14] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดลำพูน “ส่วนบุญโญปถัมภ์”
อุตรดิตถ์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ พ.ศ. 2452[15] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ “อุตรดิตถ์”
โรงเรียนอุตรดิตถ์ดรุณี พ.ศ. 2463[16] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ “อุตรดิตถ์ดรุณี”

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

จังหวัด ชื่อโรงเรียน ก่อตั้ง หมายเหตุ
กาฬสินธุ์ โรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์ พ.ศ. 2456[17] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดกาฬสินธุ์ “กาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์”
โรงเรียนอนุกูลนารี พ.ศ. 2482[18] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดกาฬสินธุ์ “อนุกูลนารี”
ขอนแก่น โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน พ.ศ. 2440[19] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดขอนแก่น “ขอนแก่นวิทยายน”
โรงเรียนกัลยาณวัตร พ.ศ. 2463[20] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดขอนแก่น “กัลยาณวัตร”
ชัยภูมิ โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล พ.ศ. 2442[21] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดชัยภูมิ “ชัยภูมิภักดีชุมพล”
โรงเรียนสตรีชัยภูมิ พ.ศ. 2481[22] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดชัยภูมิ “สตรีชัยภูมิ”
นครพนม โรงเรียนปิยะมหาราชาลัย พ.ศ. 2452[23] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดนครพนม “ปิยะมหาราชาลัย” ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2512 ได้มีการยุบโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดนครพนม “สตรีนครพนม” มารวมและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "โรงเรียนปิยะมหาราชาลัย"
นครราชสีมา โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย พ.ศ. 2442[24] เดิมชื่อโรงเรียนประจำมณฑลนครราชสีมา “ราชสีมาวิทยาลัย”
โรงเรียนสุรนารีวิทยา พ.ศ. 2468[25] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำมณฑลนครราชสีมา “สุรนารีวิทยา”
บึงกาฬ โรงเรียนบึงกาฬ พ.ศ. 2509[26] เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดโดยพฤตินัยหลังจากการจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬเมื่อปี พ.ศ. 2554
บุรีรัมย์ โรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคม พ.ศ. 2447[27] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดบุรีรัมย์ “บุรีรัมย์วิทยาลัย” ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2515 ได้มีการยุบโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดบุรีรัมย์ “ศรีบุรีรัมย์” ซึ่งก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2481 มารวมและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "โรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคม"
มหาสารคาม โรงเรียนสารคามพิทยาคม พ.ศ. 2449[28] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดมหาสารคาม “สารคามพิทยาคม”
โรงเรียนผดุงนารี พ.ศ. 2469[29] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดมหาสารคาม “ผดุงนารี”
มุกดาหาร โรงเรียนมุกดาหาร พ.ศ. 2491[30] เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดโดยพฤตินัยหลังจากการจัดตั้งจังหวัดมุกดาหารเมื่อปี พ.ศ. 2525
ยโสธร โรงเรียนยโสธรพิทยาคม พ.ศ. 2493[31] เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดโดยพฤตินัยหลังจากการจัดตั้งจังหวัดยโสธรเมื่อปี พ.ศ. 2515
ร้อยเอ็ด โรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย พ.ศ. 2450[32] เดิมชื่อโรงเรียนประจำมณฑลร้อยเอ็ด “ร้อยเอ็ดวิทยาลัย”
โรงเรียนสตรีศึกษา พ.ศ. 2456[33] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำมณฑลร้อยเอ็ด “สตรีศึกษา”
เลย โรงเรียนเลยพิทยาคม พ.ศ. 2450[34] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดเลย “สโมสรวิทยาลัย” ต่อมาเมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2515 ได้มีการยุบโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดเลย “วัฑฒนดรุณี” ซึ่งก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2482 มารวมและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "โรงเรียนเลยพิทยาคม"
ศรีสะเกษ โรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย พ.ศ. 2455[35] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดศรีสะเกษ “ศรีสะเกษวิทยาลัย”
โรงเรียนสตรีสิริเกศ พ.ศ. 2482[36] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดศรีสะเกษ “สตรีสิริเกศ”
สกลนคร โรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล พ.ศ. 2455[37] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดสกลนคร “สกลราชวิทยานุกูล” ต่อมาเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2511 ได้มีการยุบโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดสกลนคร “สตรีสกลรัตน์” ซึ่งก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2466 มารวมและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "โรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล"
สุรินทร์ โรงเรียนสุรวิทยาคาร พ.ศ. 2456[38] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดสุรินทร์ “สุรวิทยาคาร”
โรงเรียนสิรินธร พ.ศ. 2478[39] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดสุรินทร์ “สิรินธร”
หนองคาย โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร พ.ศ. 2457[40] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดหนองคาย “หนองคายวิทยาคาร” ต่อมาเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2510 ได้มีการยุบโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดหนองคาย “ปทุมเทพรังสรรค์” ซึ่งก่อตั้งเมื่อปี 1 ธันวาคม พ.ศ. 2473 มารวมและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร"
หนองบัวลำภู โรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร พ.ศ. 2514[41] เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดโดยพฤตินัยหลังจากการจัดตั้งจังหวัดหนองบัวลำภูเมื่อปี พ.ศ. 2536
อุดรธานี โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล พ.ศ. 2445[42] เดิมชื่อโรงเรียนประจำมณฑลอุดร “อุดรพิทยานุกูล”
โรงเรียนสตรีราชินูทิศ พ.ศ. 2460[43] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำมณฑลอุดร “สตรีราชินูทิศ”
อุบลราชธานี โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช พ.ศ. 2440[44] เดิมชื่อโรงเรียนประจำมณฑลอุบล “เบ็ญจะมะมหาราช”
โรงเรียนนารีนุกูล พ.ศ. 2443[45] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำมณฑลอุบล “นารีนุกูล”
อำนาจเจริญ โรงเรียนอำนาจเจริญ พ.ศ. 2494[46] เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดโดยพฤตินัยหลังจากการจัดตั้งจังหวัดอำนาจเจริญเมื่อปี พ.ศ. 2536

ภาคกลาง

จังหวัด ชื่อโรงเรียน ก่อตั้ง หมายเหตุ
กำแพงเพชร โรงเรียนกำแพงเพชรพิทยาคม พ.ศ. 2445[47] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดกำแพงเพชร “วัชรราษฎร์วิทยาลัย” ต่อมาเมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2514 ได้มีการยุบโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดกำแพงเพชร “นารีวิทยา” ซึ่งก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2469 มารวมและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "โรงเรียนกำแพงเพชรพิทยาคม"
ชัยนาท โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม พ.ศ. 2452[48] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดชัยนาท “วิชัยบำรุงราษฎร์” ต่อมาเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2518 ได้มีการยุบโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดชัยนาท “คณะราษฎร์บำรุง ๒” มารวมและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม"
นครนายก โรงเรียนนครนายกวิทยาคม พ.ศ. 2459[49] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดนครนายก “นาครส่ำสงเคราะห์” ต่อมาเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2514 ได้มีการยุบโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดนครนายก “ศรีนครนายก” มารวมและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "โรงเรียนนครนายกวิทยาคม"
นครปฐม โรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย พ.ศ. 2452[50] เดิมชื่อโรงเรียนโรงเรียนประจำมณฑลนครชัยศรี “พระปฐมวิทยาลัย”
โรงเรียนราชินีบูรณะ พ.ศ. 2457[51] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำมณฑลนครชัยศรี “ราชินีบูรณะ”
นครสวรรค์ โรงเรียนนครสวรรค์ พ.ศ. 2448[52] เดิมชื่อโรงเรียนประจำมณฑลนครสวรรค์ “นครสวรรค์”
โรงเรียนสตรีนครสวรรค์ พ.ศ. 2455[53] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำมณฑลนครสวรรค์ “สตรีนครสวรรค์”
นนทบุรี โรงเรียนศรีบุณยานนท์ พ.ศ. 2451[54] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดนนทบุรี “ศรีบุณยานนท์”
โรงเรียนสตรีนนทบุรี พ.ศ. 2475[55] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดนนทบุรี “สตรีนนทบุรี”
ปทุมธานี โรงเรียนปทุมวิไล พ.ศ. 2446[56] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดปทุมธานี “ปทุมวิไล”
โรงเรียนคณะราษฎร์บำรุงปทุมธานี พ.ศ. 2472[57] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดปทุมธานี “คณะราษฎร์บำรุง ๓”
พระนครศรีอยุธยา โรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย พ.ศ. 2448[58] เดิมชื่อโรงเรียนประจำมณฑลอยุธยา “อยุธยาวิทยาลัย”
โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ พ.ศ. 2462[59] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำมณฑลอยุธยา “จอมสุรางค์อุปถัมภ์”
พิจิตร โรงเรียนพิจิตรพิทยาคม พ.ศ. 2441[60] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดพิจิตร “พิจิตรวิทยาคม” ต่อมาเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2515 ได้มีการยุบโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดพิจิตร “พิจิตรกัลยาณี” ซึ่งก่อตั้งเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 มารวมและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "โรงเรียนพิจิตรพิทยาคม"
พิษณุโลก โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม พ.ศ. 2442[61] เดิมชื่อโรงเรียนประจำมณฑลพิษณุโลก “พิษณุโลกพิทยาคม”
โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี พ.ศ. 2466[62] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำมณฑลพิษณุโลก “เฉลิมขวัญสตรี”
เพชรบูรณ์ โรงเรียนเพชรพิทยาคม พ.ศ. 2444[63] เดิมชื่อโรงเรียนประจำมณฑลเพชรบูรณ์ “เพชรพิทยาคม”
โรงเรียนวิทยานุกูลนารี พ.ศ. 2458[64] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำมณฑลเพชรบูรณ์ “วิทยานุกูลนารี”
ลพบุรี โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย พ.ศ. 2442[65] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดลพบุรี “พิบูลวิทยาลัย” ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2463 ได้มีการแยกนักเรียนหญิงตั้งเป็นโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดลพบุรี “ลวะศรี” และได้เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดลพบุรี “เทพสตรีวิทยาลัย” ต่อมาจึงยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
สมุทรปราการ โรงเรียนสมุทรปราการ พ.ศ. 2426[66] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดสมุทรปราการ “สมุทรปราการ”
โรงเรียนสตรีสมุทรปราการ พ.ศ. 2445[67] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดสมุทรปราการ “สตรีสมุทรปราการ”
สมุทรสงคราม โรงเรียนศรัทธาสมุทร พ.ศ. 2451[68] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดสมุทรสงคราม “ศรัทธาสมุทร”
โรงเรียนถาวรานุกูล พ.ศ. 2462[69] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดสมุทรสงคราม “ถาวรานุกูล”
สมุทรสาคร โรงเรียนสมุทรสาครวิทยาลัย พ.ศ. 2457[70] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดสมุทรสาคร “เปี่ยมวิทยาคม”
โรงเรียนสมุทรสาครบูรณะ พ.ศ. 2455[71] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดสมุทรสาคร “บำรุงวิทยา”
สระบุรี โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม พ.ศ. 2445[72] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดสระบุรี “สระบุรี” ต่อมาเมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2515 ได้มีการยุบโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดสระบุรี “สหายหญิง” มารวมและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม"
สิงห์บุรี โรงเรียนสิงห์บุรี พ.ศ. 2449[73] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดสิงห์บุรี “สิงหวัฒนพาห” ต่อมาเมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2515 ได้มีการยุบโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดสิงห์บุรี “สตรีสิงห์บุรี” ซึ่งก่อตั้งเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2478 มารวมและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "โรงเรียนสิงห์บุรี"
สุโขทัย โรงเรียนสุโขทัยวิทยาคม พ.ศ. 2441[74] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดสุโขทัย “สุโขทัยวิทยาคม”
โรงเรียนอุดมดรุณี พ.ศ. 2461[75] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดสุโขทัย “อุดมดรุณี”
สุพรรณบุรี โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย พ.ศ. 2441[76] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดสุพรรณบุรี “กรรณสูตศึกษาลัย”
โรงเรียนสงวนหญิง พ.ศ. 2472[77] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดสุพรรณบุรี “สงวนหญิง”
อ่างทอง โรงเรียนอ่างทองปัทมโรจน์วิทยาคม พ.ศ. 2429[78] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดอ่างทอง “ปัทมโรจน์ราษฎร์บำรุง”
โรงเรียนสตรีอ่างทอง พ.ศ. 2482[79] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดอ่างทอง “สตรีอ่างทอง”
อุทัยธานี โรงเรียนอุทัยวิทยาคม พ.ศ. 2465[80] เดิมชื่อโรงเรียนประจําจังหวัดอุทัยธานี “อุทัยทวีเวท” ต่อมาเมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2515 ได้มีการยุบโรงเรียนสตรีประจําจังหวัดอุทัยธานี “เบญจมราชูทิศ” ซึ่งก่อตั้งเมื่อวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2456 มารวมและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "โรงเรียนอุทัยวิทยาคม"

ภาคตะวันออก

จังหวัด ชื่อโรงเรียน ก่อตั้ง หมายเหตุ
จันทบุรี โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี พ.ศ. 2454[81] เดิมชื่อโรงเรียนประจำมณฑลจันทบุรี “เบญจมราชูทิศ”
โรงเรียนศรียานุสรณ์ พ.ศ. 2462[82] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำมณฑลจันทบุรี “ศรียานุสรณ์”
ฉะเชิงเทรา โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ พ.ศ. 2435[83] เดิมชื่อโรงเรียนประจำมณฑลปราจิณบุรี “เบญจมราชูทิศ”
โรงเรียนดัดดรุณี พ.ศ. 2458[84] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำมณฑลปราจิณบุรี “ดัดดรุณี”
ชลบุรี โรงเรียนชลราษฎรอำรุง พ.ศ. 2411[85] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดชลบุรี “ชลราษฎรอำรุง”
โรงเรียนชลกันยานุกูล พ.ศ. 2458[86] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดชลบุรี “ชลกันยานุกูล”
ตราด โรงเรียนตราษตระการคุณ พ.ศ. 2442[87] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดตราด “ตราษตระการคุณ”
โรงเรียนสตรีประเสริฐศิลป์ พ.ศ. 2479[88] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดตราด “สตรีประเสริฐศิลป์”
ปราจีนบุรี โรงเรียนปราจิณราษฎรอำรุง พ.ศ. 2456[89] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดปราจีนบุรี “ปราจิณราษฎรอำรุง”
โรงเรียนปราจีนกัลยาณี พ.ศ. 2460[90] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดสตรีปราจีนบุรี “ปราจีนกัลยาณี”
ระยอง โรงเรียนระยองวิทยาคม พ.ศ. 2442[91] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดระยอง “ระยองมิตรอุปถัมภ์” ต่อมาเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2514 ได้มีการยุบโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดระยอง “บุญศิริบำเพ็ญ” ซึ่งก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2463 มารวมและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "โรงเรียนระยองวิทยาคม"
สระแก้ว โรงเรียนสระแก้ว พ.ศ. 2501[92] เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดโดยพฤตินัยหลังจากการจัดตั้งจังหวัดสระแก้วเมื่อปี พ.ศ. 2536

ภาคตะวันตก

จังหวัด ชื่อโรงเรียน ก่อตั้ง หมายเหตุ
กาญจนบุรี โรงเรียนวิสุทธรังษี พ.ศ. 2447[93] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดจังหวัดกาญจนบุรี “วิสุทธรังษี”
โรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ พ.ศ. 2472[94] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดจังหวัดกาญจนบุรี “กาญจนานุเคราะห์”
ตาก โรงเรียนตากพิทยาคม พ.ศ. 2443[95] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดจังหวัดตาก “ตากพิทยาคม”
โรงเรียนผดุงปัญญา พ.ศ. 2471[96] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดจังหวัดตาก “ผดุงปัญญา”
ประจวบคีรีขันธ์ โรงเรียนประจวบวิทยาลัย พ.ศ. 2457[97] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ “ประจวบวิทยาลัย” ต่อมาเมื่อวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2513 ได้มีการยุบโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ “ประจวบสมบูรณ์” ซึ่งก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2485 มารวมและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "โรงเรียนประจวบวิทยาลัย"
เพชรบุรี โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี พ.ศ. 2444[98] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดเพชรบุรี “วัดคงคาราม”
โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศจังหวัดเพชรบุรี พ.ศ. 2460[99] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดเพชรบุรี “เบญจมเทพอุทิศ”
ราชบุรี โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี พ.ศ. 2429[100] เดิมชื่อโรงเรียนประจำมณฑลราชบุรี “เบญจมราชูทิศ”
โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ พ.ศ. 2470[101] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำมณฑลราชบุรี “ราชโบริกานุเคราะห์”

ภาคใต้

จังหวัด ชื่อโรงเรียน ก่อตั้ง หมายเหตุ
กระบี่ โรงเรียนอำมาตย์พานิชนุกูล พ.ศ. 2452[102] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดกระบี่ “อำมาตย์พานิชนุกูล” ต่อมาเมื่อวันที่ พ.ศ. 2513 ได้มีการยุบโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดกระบี่ “สตรีกระบี่” มารวมและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "โรงเรียนอำมาตย์พานิชนุกูล"
ชุมพร โรงเรียนศรียาภัย พ.ศ. 2440[103] เดิมชื่อโรงเรียนประจำมณฑลชุมพร “ศรียาภัย”
โรงเรียนสอาดเผดิมวิทยา พ.ศ. 2467[104] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำมณฑลชุมพร “สอาดเผดิมวิทยา”
ตรัง โรงเรียนวิเชียรมาตุ พ.ศ. 2459[105] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดตรัง “วิเชียรมาตุ”
โรงเรียนสภาราชินี พ.ศ. 2479[106] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดตรัง “สภาราชินี”
นครศรีธรรมราช โรงเรียนเบญจมราชูทิศ พ.ศ. 2441[107] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช “เบญจมราชูทิศ”
โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช พ.ศ. 2461[108] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช “กัลยาณีศรีธรรมราช”
นราธิวาส โรงเรียนนราธิวาส พ.ศ. 2456[109] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดนราธิวาส “นราธิวาส”
โรงเรียนนราสิกขาลัย พ.ศ. 2483[110] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดนราธิวาส “สตรีนราธิวาส”
ปัตตานี โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดปัตตานี พ.ศ. 2455[111] เดิมชื่อโรงเรียนประจำมณฑลปัตตานี “เบญจมราชูทิศ”
โรงเรียนเดชะปัตตนยานุกูล พ.ศ. 2465[112] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำมณฑลปัตตานี “เดชะปัตตนยานุกูล”
พังงา โรงเรียนดีบุกพังงาวิทยายน พ.ศ. 2471[113] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดพังงา “ดีบุกพังงาวิทยายน”
โรงเรียนสตรีพังงา พ.ศ. 2499[114] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดพังงา “สตรีพังงา”
พัทลุง โรงเรียนพัทลุง พ.ศ. 2448[115] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดพัทลุง “พัทลุง”
โรงเรียนสตรีพัทลุง พ.ศ. 2482[116] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดพัทลุง “สตรีพัทลุง”
ภูเก็ต โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย พ.ศ. 2440[117] เดิมชื่อโรงเรียนประจำมณฑลภูเก็ต “ภูเก็ตวิทยาลัย”
โรงเรียนสตรีภูเก็ต พ.ศ. 2452[118] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำมณฑลภูเก็ต “ตัณฑวณิชวิทยาคม”
ยะลา โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา พ.ศ. 2452[119] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดยะลา “คณะราษฎรบำรุง”
โรงเรียนสตรียะลา พ.ศ. 2469[120] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดยะลา “สตรียะลา”
ระนอง โรงเรียนพิชัยรัตนาคาร พ.ศ. 2449[121] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดระนอง “พิชัยรัตนาคาร”
โรงเรียนสตรีระนอง พ.ศ. 2483[122] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดระนอง “สตรีระนอง”
สงขลา โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2439[123] เดิมชื่อโรงเรียนประจำมณฑลนครศรีธรรมราช “มหาวชิราวุธ”
โรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลา พ.ศ.2464[124] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำมณฑลนครศรีธรรมราช “วรนารีเฉลิม”
สตูล โรงเรียนสตูลวิทยา พ.ศ. 2453[125] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดสตูล “สตูลวิทยา” ต่อมาเมื่อวันที่ พ.ศ. 2491 ได้มีการยุบโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดสตูล “สตรีสตูล” ซึ่งก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2484 มารวมและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "โรงเรียนสตูลวิทยา"
สุราษฎร์ธานี โรงเรียนสุราษฎร์ธานี พ.ศ. 2450[126] เดิมชื่อโรงเรียนประจำมณฑลสุราษฎร์ “สุราษฎร์ธานี”
โรงเรียนสุราษฎร์พิทยา พ.ศ. 2482[127] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำมณฑลสุราษฎร์ “สตรีสุราษฎร์ธานี”

อดีต

จังหวัด ชื่อโรงเรียน ก่อตั้ง หมายเหตุ
กระบินทร์บุรี โรงเรียนกบินทร์บุรี พ.ศ. 2460[128] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดกระบินทร์บุรี “กบินทร์ราษฎรอำรุง” ต่อมาลดฐานะเป็นโรงเรียนประจำอำเภอโดยพฤตินัยหลังจากรวมเข้ากับจังหวัดปราจิณบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2469
ขุขันธ์ โรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย พ.ศ. 2455[129] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดขุขันธ์ “ขุขันธ์ราษฎร์รังรักษ์” ต่อมาเปลี่ยนฐานะเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดศรีสะเกษ หลังจากการเปลี่ยนนามจังหวัดขุขันธ์เป็นจังหวัดศรีสะเกษ เมื่อปี พ.ศ. 2481
โรงเรียนสตรีสิริเกศ พ.ศ. 2482[130] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดขุขันธ์ “สตรีขุขันธ์” ต่อมาเปลี่ยนฐานะเป็นโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดศรีสะเกษ หลังจากการเปลี่ยนนามจังหวัดขุขันธ์เป็นจังหวัดศรีสะเกษ เมื่อปี พ.ศ. 2481
ตะกั่วป่า โรงเรียนตะกั่วป่า “เสนานุกูล” พ.ศ. 2443[131] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดตะกั่วป่า “เสนานุกูล” ต่อมาลดฐานะเป็นโรงเรียนประจำอำเภอโดยพฤตินัยหลังจากรวมเข้ากับจังหวัดพังงา เมื่อปี พ.ศ. 2474
ธนบุรี โรงเรียนทวีธาภิเศก พ.ศ. 2438[132] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดธนบุรี “ทวีธาภิเศก” ต่อมาลดฐานะเป็นโรงเรียนประจำอำเภอโดยพฤตินัยหลังจากการยุบเลิกจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรี เป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2514
โรงเรียนศึกษานารี พ.ศ. 2453[133] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดธนบุรี “ศึกษานารี” ต่อมาลดฐานะเป็นโรงเรียนประจำอำเภอโดยพฤตินัยหลังจากการยุบเลิกจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรี เป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2514
ธัญญบุรี โรงเรียนธัญบุรี พ.ศ. 2455[134] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดธัญญบุรี “ธัญญสิทธิศิลป์” ต่อมาลดฐานะเป็นโรงเรียนประจำอำเภอโดยพฤตินัยหลังจากรวมเข้ากับจังหวัดปทุมธานี เมื่อปี พ.ศ. 2474
โรงเรียนธัญรัตน์ พ.ศ. 2499[135] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดธัญญบุรี “รังสิต” ต่อมาลดฐานะเป็นโรงเรียนสตรีประจำอำเภอโดยพฤตินัยหลังจากรวมเข้ากับจังหวัดปทุมธานี เมื่อปี พ.ศ. 2474
พระนคร โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย พ.ศ. 2425[136] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดพระนคร “สวนกุหลาบวิทยาลัย” ต่อมาลดฐานะเป็นโรงเรียนประจำอำเภอโดยพฤตินัยหลังจากการยุบเลิกจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรี เป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2514
โรงเรียนสตรีวิทยา พ.ศ. 2443[137] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดพระนคร “สตรีวิทยา” ต่อมาลดฐานะเป็นโรงเรียนประจำอำเภอโดยพฤตินัยหลังจากการยุบเลิกจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรี เป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2514
พระประแดง โรงเรียนวัดทรงธรรม พ.ศ. 2429[138] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดพระประแดง “เมืองนครเขื่อนขันธ์” ต่อมาลดฐานะเป็นโรงเรียนประจำอำเภอโดยพฤตินัยหลังจากรวมเข้ากับจังหวัดสมุทรปราการและจังหวัดธนบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2474
โรงเรียนวิสุทธิกษัตรี พ.ศ. 2482[139] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดพระประแดง “วิสุทธิกษัตรี” ต่อมาลดฐานะเป็นโรงเรียนสตรีประจำอำเภอโดยพฤตินัยหลังจากรวมเข้ากับจังหวัดสมุทรปราการและจังหวัดธนบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2474
มีนบุรี โรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ พ.ศ. 2453[140] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดมีนบุรี “เศรษฐบุตรบำเพ็ญ” ต่อมาลดฐานะเป็นโรงเรียนประจำอำเภอโดยพฤตินัยหลังจากรวมเข้ากับจังหวัดพระนครและจังหวัดฉะเชิงเทรา เมื่อปี พ.ศ. 2474
โรงเรียนสตรีเศรษฐบุตรบำเพ็ญ พ.ศ. 2467[141] เดิมชื่อโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดมีนบุรี “สตรีเศรษฐบุตรบำเพ็ญ” ต่อมาลดฐานะเป็นโรงเรียนสตรีประจำอำเภอโดยพฤตินัยหลังจากรวมเข้ากับจังหวัดพระนครและจังหวัดฉะเชิงเทรา เมื่อปี พ.ศ. 2474
สวรรคโลก โรงเรียนสวรรค์อนันต์วิทยา พ.ศ. 2438[142] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดสวรรคโลก “สวรรควิทยา” ต่อมาเมื่อวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2513 ได้มีการยุบโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดสวรรคโลก “อนันตนารี” ซึ่งก่อตั้งเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2465 มารวมและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "โรงเรียนสวรรค์อนันต์วิทยา" ต่อมาลดฐานะเป็นโรงเรียนประจำอำเภอโดยพฤตินัยหลังจากรวมเข้ากับจังหวัดสุโขทัย เมื่อปี พ.ศ. 2474
สายบุรี โรงเรียนสายบุรี “แจ้งประชาคาร” พ.ศ. 2464[143] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดสายบุรี “แจ้งประชาคาร” ต่อมาลดฐานะเป็นโรงเรียนประจำอำเภอโดยพฤตินัยหลังจากรวมเข้ากับจังหวัดปัตตานีและนราธิวาส เมื่อปี พ.ศ. 2474
หล่มศักดิ์ โรงเรียนหล่มสักวิทยาคม พ.ศ. 2444[144] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดหล่มศักดิ์ “ศักดิ์วิทยาคาร” ต่อมาเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2514 ได้มีการยุบโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดหล่มศักดิ์ “สตรีวิทยา” ซึ่งก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2461 มารวมและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "โรงเรียนหล่มสักวิทยาคม" ต่อมาลดฐานะเป็นโรงเรียนประจำอำเภอโดยพฤตินัยหลังจากรวมเข้ากับจังหวัดเพชรบูรณ์ เมื่อปี พ.ศ. 2474
หลังสวน โรงเรียนสวนศรีวิทยา พ.ศ. 2442[145] เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดหลังสวน “สวนศรีวิทยา” ต่อมาเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2509 ได้มีการยุบโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดหลังสวน “อนุกูลสตรี” ซึ่งก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2456 มารวมและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "โรงเรียนสวนศรีวิทยา" ต่อมาลดฐานะเป็นโรงเรียนประจำอำเภอโดยพฤตินัยหลังจากรวมเข้ากับจังหวัดชุมพร เมื่อปี พ.ศ. 2474

อื่นๆ

อ้างอิง

  1. โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม
  2. โรงเรียนดำรงราษฎร์สงเคราะห์
  3. โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
  4. โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ
  5. โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร
  6. โรงเรียนสตรีศรีน่าน
  7. โรงเรียนพะเยาพิทยาคม
  8. โรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่
  9. โรงเรียนนารีรัตน์จังหวัดแพร่
  10. โรงเรียนห้องสอนศึกษา
  11. โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย
  12. โรงเรียนลำปางกัลยาณี
  13. โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
  14. โรงเรียนส่วนบุญโญปถัมภ์ ลำพูน
  15. โรงเรียนอุตรดิตถ์
  16. โรงเรียนอุตรดิตถ์ดรุณี
  17. โรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์
  18. โรงเรียนอนุกูลนารี
  19. โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน
  20. โรงเรียนกัลยาณวัตร
  21. โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล
  22. โรงเรียนสตรีชัยภูมิ
  23. โรงเรียนปิยะมหาราชาลัย
  24. โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย
  25. โรงเรียนสุรนารีวิทยา
  26. โรงเรียนบึงกาฬ
  27. โรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคม
  28. โรงเรียนสารคามพิทยาคม
  29. โรงเรียนผดุงนารี
  30. โรงเรียนมุกดาหาร
  31. โรงเรียนยโสธรพิทยาคม
  32. โรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย
  33. โรงเรียนสตรีศึกษา
  34. โรงเรียนเลยพิทยาคม
  35. โรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย
  36. โรงเรียนสตรีสิริเกศ
  37. โรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล
  38. โรงเรียนสุรวิทยาคาร
  39. โรงเรียนสิรินธร
  40. โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร
  41. โรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร
  42. โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล
  43. โรงเรียนสตรีราชินูทิศ
  44. โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช
  45. โรงเรียนนารีนุกูล
  46. โรงเรียนอำนาจเจริญ
  47. โรงเรียนกำแพงเพชรพิทยาคม
  48. โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม
  49. โรงเรียนนครนายกวิทยาคม
  50. โรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย
  51. โรงเรียนราชินีบูรณะ
  52. โรงเรียนนครสวรรค์
  53. โรงเรียนสตรีนครสวรรค์
  54. โรงเรียนศรีบุณยานนท์
  55. โรงเรียนสตรีนนทบุรี
  56. โรงเรียนปทุมวิไล
  57. โรงเรียนคณะราษฎร์บำรุงปทุมธานี
  58. โรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย
  59. โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์
  60. โรงเรียนพิจิตรพิทยาคม
  61. โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม
  62. โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี
  63. โรงเรียนเพชรพิทยาคม
  64. โรงเรียนวิทยานุกูลนารี
  65. โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย
  66. โรงเรียนสมุทรปราการ
  67. โรงเรียนสตรีสมุทรปราการ
  68. โรงเรียนศรัทธาสมุทร
  69. โรงเรียนถาวรานุกูล
  70. โรงเรียนสมุทรสาครวิทยาลัย
  71. โรงเรียนสมุทรสาครบูรณะ
  72. โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม
  73. โรงเรียนสิงห์บุรี
  74. โรงเรียนสุโขทัยวิทยาคม
  75. โรงเรียนอุดมดรุณี
  76. โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย
  77. โรงเรียนสงวนหญิง
  78. โรงเรียนอ่างทองปัทมโรจน์วิทยาคม
  79. โรงเรียนสตรีอ่างทอง
  80. โรงเรียนอุทัยวิทยาคม
  81. โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี
  82. โรงเรียนศรียานุสรณ์
  83. โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
  84. โรงเรียนดัดดรุณี
  85. โรงเรียนชลราษฎรอำรุง
  86. [hhttp://www.chonkanya.ac.th/ โรงเรียนชลกันยานุกูล]
  87. โรงเรียนตราษตระการคุณ
  88. โรงเรียนสตรีประเสริฐศิลป์
  89. โรงเรียนปราจิณราษฎรอำรุง
  90. โรงเรียนปราจีนกัลยาณี
  91. โรงเรียนระยองวิทยาคม
  92. โรงเรียนสระแก้ว
  93. โรงเรียนวิสุทธรังษี
  94. โรงเรียนกาญจนานุเคราะห์
  95. โรงเรียนตากพิทยาคม
  96. โรงเรียนผดุงปัญญา
  97. โรงเรียนประจวบวิทยาลัย
  98. โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี
  99. โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศจังหวัดเพชรบุรี
  100. โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี
  101. โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์
  102. โรงเรียนอำมาตย์พานิชนุกูล
  103. โรงเรียนศรียาภัย
  104. โรงเรียนสอาดเผดิมวิทยา
  105. โรงเรียนวิเชียรมาตุ
  106. โรงเรียนสภาราชินี
  107. โรงเรียนเบญจมราชูทิศ
  108. โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช
  109. โรงเรียนนราธิวาส
  110. โรงเรียนนราสิกขาลัย
  111. โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดปัตตานี
  112. โรงเรียนเดชะปัตตนยานุกูล
  113. โรงเรียนดีบุกพังงาวิทยายน
  114. โรงเรียนสตรีพังงา
  115. โรงเรียนพัทลุง
  116. โรงเรียนสตรีพัทลุง
  117. โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย
  118. โรงเรียนสตรีภูเก็ต
  119. โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา
  120. โรงเรียนสตรียะลา
  121. โรงเรียนพิชัยรัตนาคาร
  122. โรงเรียนสตรีระนอง
  123. โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
  124. โรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลา
  125. โรงเรียนสตูลวิทยา
  126. โรงเรียนสุราษฎร์ธานี
  127. โรงเรียนสุราษฎร์พิทยา
  128. โรงเรียนกบินทร์บุรี
  129. โรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย
  130. โรงเรียนสตรีสิริเกศ
  131. โรงเรียนตะกั่วป่า “เสนานุกูล”
  132. โรงเรียนทวีธาภิเศก
  133. โรงเรียนศึกษานารี
  134. โรงเรียนธัญบุรี
  135. โรงเรียนธัญรัตน์
  136. โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
  137. โรงเรียนสตรีวิทยา
  138. โรงเรียนวัดทรงธรรม
  139. โรงเรียนวิสุทธิกษัตรี
  140. โรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ
  141. โรงเรียนสตรีเศรษฐบุตรบำเพ็ญ
  142. โรงเรียนสวรรค์อนันต์วิทยา
  143. โรงเรียนสายบุรี “แจ้งประชาคาร”
  144. โรงเรียนหล่มศักดิ์วิทยาคม
  145. โรงเรียนสวนศรีวิทยา