ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีศรีนครินทร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Oum13928 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 76: บรรทัด 76:
! colspan="7" style="background-color:#f5f5f5 | ชานชาลาที่ 1
! colspan="7" style="background-color:#f5f5f5 | ชานชาลาที่ 1
|-
|-
| [[ไฟล์:BTS E23.svg|25px]] ||เคหะฯ|| style="text-align:center" |เต็มระยะ || style="text-align:center" | 05.26 || style="text-align:center" | 00.40
| [[ไฟล์:BTS E23.svg|25px]] || เคหะฯ || style="text-align:center" | เต็มระยะ || style="text-align:center" | 05.26 || style="text-align:center" | 00.47
|-
|-
! colspan="7" style="background-color:#f5f5f5 | ชานชาลาที่ 2
! colspan="7" style="background-color:#f5f5f5 | ชานชาลาที่ 2
|-
|-
| rowspan="3" | [[ไฟล์:BTS N17.svg|25px]] || rowspan="3" |วัดพระศรีมหาธาตุ || style="text-align:center" | เต็มระยะ || style="text-align:center" | 05.20 || style="text-align:center" | 23.46
| rowspan="5" | [[ไฟล์:BTS N24.svg|25px]] || rowspan="5" | คูคต || style="text-align:center" | เต็มระยะ || style="text-align:center" | 05.20 || style="text-align:center" | 23.27
|- style="background:lightgrey; height: 1pt"
|- style="background:lightgrey; height: 1pt"
| colspan="3" |
| colspan="3" |
|-
|-
| style="text-align:center" | ปลายทางสำโรง || style="text-align:center" | - || style="text-align:center" | 00.05
| style="text-align:center" | ปลายทางสำโรง || style="text-align:center" | - || style="text-align:center" | 23.49
|- style="background:lightgrey; height: 1pt"
| colspan="3" |
|-
| style="text-align:center" | ปลายทางห้าแยกลาดพร้าว || style="text-align:center" | - || style="text-align:center" | 00.05
|-
|-
|}
|}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:21, 15 ธันวาคม 2563

แม่แบบ:BTS infobox

สถานีศรีนครินทร์ (อังกฤษ: Srinagarindra Station, รหัส E20) เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท ส่วนต่อขยายแบริ่ง-สมุทรปราการ ระยะทาง 12.8 กิโลเมตร ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิท อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ โดยจะยกระดับคร่อมคลองบางปิ้งบริเวณทางแยกการไฟฟ้าสมุทรปราการ ใกล้ปากซอยวัดชัยมงคล เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2561

ที่ตั้ง

ถนนสุขุมวิท บริเวณสะพานข้ามคลองบางปิ้งและทางแยกการไฟฟ้าสมุทรปราการ ในพื้นที่ตำบลปากน้ำ อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ

แผนผังของสถานี

U3
ชานชาลา
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
ชานชาลา 1 แม่แบบ:BTS Lines มุ่งหน้า สถานีเคหะฯ
ชานชาลา 2 แม่แบบ:BTS Lines มุ่งหน้า สถานีคูคต
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
U2
ชั้นขายบัตรโดยสาร
ชั้นขายบัตรโดยสาร ทางออก , ศูนย์บริการผู้โดยสาร, ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร, ร้านค้า
G
ระดับถนน
- ป้ายรถประจำทาง, ซอยวัดชัยมงคล, สะพานข้ามคลองบางปิ้ง

รูปแบบสถานี

กว้าง 22.6 เมตร ยาว 150 เมตร มีช่วงพื้นที่รองรับรางรถไฟยาว 135 เมตร ประกอบด้วยชั้นจำหน่ายตั๋ว และชั้นชานชาลา มีประตูกั้นชานชาลาแบบ Half Height Platform Screen Doors

ทางเข้า-ออก

  • 1 สุขุมวิท ซอย 43, โรงเรียนสตรีสมุทรปราการ (บันไดเลื่อน)
  • 2 ซอยศิริราษฎร์ศรัทธา (วัดในสองวิหาร), โรงเรียนนพคุณวิทยา
  • 3 สุขุมวิท ซอย 45 (ลิฟต์)
  • 4 ซอยวัดชัยมงคล, ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาสมุทรปราการ, โรงพยาบาลสัตว์เทศบาลนครสมุทรปราการ (ลิฟต์)

จุดรวมพลอยู่ที่ทางออก 2 บริเวณซอยศิริราษฎร์ศรัทธา และทางออก 4 บริเวณซอยวัดชัยมงคล

สิ่งอำนวยความสะดวก

  • ลิฟต์และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้พิการ

เวลาให้บริการ

ปลายทาง ขบวนรถ ขบวนแรก ขบวนสุดท้าย
colspan="7" style="background-color:#แม่แบบ:BTS color;color:white; height:25px" | สายสุขุมวิท
ชานชาลาที่ 1
เคหะฯ เต็มระยะ 05.26 00.47
ชานชาลาที่ 2
คูคต เต็มระยะ 05.20 23.27
ปลายทางสำโรง - 23.49
ปลายทางห้าแยกลาดพร้าว - 00.05

รถโดยสารประจำทาง

ไม่มีรถโดยสารประจำทางสายใดผ่านสถานีนี้

สัญลักษณ์ของสถานี

เดิมกำหนดให้ใช้สัญลักษณ์เป็นรูปดาวสามแฉก สื่อถึงการเป็นจุดบรรจบที่สำคัญของถนนสายหลัก 2 สาย คือถนนศรีนครินทร์และถนนสุขุมวิท[1][2] แต่ปัจจุบันเน้นใช้สีเขียวอ่อน ตกแต่งรั้วและเสา บริเวณสถานี ชั้นชานชาลา ชั้นจำหน่ายตั๋ว ป้ายบอกทางและทางเข้าออกสถานี เพื่อบ่งบอกว่าเป็นสถานีด้านตะวันออก

สถานที่สำคัญใกล้เคียง

อ้างอิง

  1. เอกสารประกอบการสัมมนารับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และความต้องการของประชาชน ครั้งที่ 2 งานออกแบบรายละเอียดโครงการขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร ช่วงแบริ่ง-สมุทรปราการ โดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) วันศุกร์ที่ 28 มีนาคม 2551 ณ โรงแรมแกรนด์ อินคำ จ.สมุทรปราการ
  2. สัญลักษณ์ประจำสถานี ของรถไฟฟ้าสายสีเขียวใต้ช่วงแบริ่ง - สมุทรปราการ , สืบค้นเมื่อ 18 พฤษภาคม 2562

สถานีใกล้เคียง

สถานีก่อนหน้า เส้นทางรถไฟ สถานีต่อไป
สถานีปากน้ำ
มุ่งหน้า สถานีคูคต
style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   แม่แบบ:BTS Lines style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   สถานีแพรกษา
มุ่งหน้า สถานีเคหะฯ