ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:ขอให้กล้า"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ Aaa2.for.civil (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Horus
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
Aaa2.for.civil (คุย | ส่วนร่วม)
{{กระบะทรายผู้ใช้}} thumb|169x169px|สัญลักษณ์ประจำหน่วย == <big>กรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 2</big> == กรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 2 เป็นหน่วยขึ้นตรงกองพลทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน มีที่ตั้งอยู่ที่ถนนทหาร แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ ภายในกองพลทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน == ประวัติความเป็นมาของหน่วย == หลังจากเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 กระทรวงกลาโหมได้พิจารณาสั่งซื้อปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน ขนาดความกว้างปากลำกล้อง 40 มม. แบบอัตโนมัติ ติดตั้งบนรถสายพานหลังคาเปน
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{DISPLAYTITLE:กรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่2}}
{{ล็อกย้าย|small=yes}}{{แนวปฏิบัติ|WP:BB|WP:BOLD}}
== <big>กรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 2</big> ==
{{nutshell|อย่าลังเลในการช่วยพัฒนาวิกิพีเดียอย่างยุติธรรมและถูกต้องแม่นยำ}}
{{กล่องข้อมูล หน่วยทหาร|unit_name=กรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 2|image=[[ไฟล์:Aaa2.jpg.png|150px]]|founded=16 กุมภาพันธ์ 2497|country=ไทย|branche=ทหารปืนใหญ่ artillery|type=กรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน|command_structure1=พล.ปตอ.|command_structure2=ปตอ.2 พัน.1 รอ.
[[ไฟล์:Be Bold Thai 2 200px.png|right]]
ปตอ.2 พัน.2


ปตอ.2 พัน.4|size=สนับสนุนการรบ|colors=ฟ้า - เหลือง|commander1=พ.อ.ไพบูลย์ พุ่มพิเชฏฐ์|commander1_label=ผบ.ปตอ.2 ปัจจุบัน}}
วลี '''ขอให้กล้า''' อธิบายได้อีกอย่างว่า "ลงมือทำเลย" ชุมชนวิกิพีเดียส่งเสริมให้ผู้ใช้มีความกล้าเมื่อปรับสารานุกรมให้ทันสมัย วิกิของเราพัฒนาได้เร็วกว่าถ้าทุกคนช่วยกันแก้ไขปัญหา แก้ไขไวยากรณ์ เพิ่มข้อเท็จจริง และตรวจดูว่าการใช้ถ้อยคำมีความถูกต้องแม่นยำ ฯลฯ การแก้วิกิพีเดียก็เหมือนดังชื่อ [[วิกิ]] ที่มีความหมายว่า เร็ว ๆ ไว ๆ (ในภาษาฮาวาย) คิดได้เมื่อไร ก็เขียนเลยเมื่อนั้น จะช่วยให้วิกิพีเดียเติบโตได้อย่างรวดเร็ว เราอยากให้ทุกคนมีความกล้าและช่วยให้วิกิพีเดียเป็นสารานุกรมที่ดีขึ้นกว่าเดิม คุณเคยอ่าน ๆ อยู่แล้วคิดว่า "ทำไมหน้านี้จึงมีการสะกดคำ ไวยากรณ์หรือการจัดผังดีกว่านี้ไม่ได้" หรือเปล่า วิกิพีเดียไม่เพียงเปิดโอกาสให้คุณเพิ่มและแก้ไขบทความเท่านั้น วิกิพีเดียยังอยากให้คุณทำเสียด้วย แต่ขอให้ทำเช่นนั้นอย่าง[[วิกิพีเดีย:มารยาท|สุภาพ]]นะ แน่นอนว่าผู้เขียนคนอื่นในนี้จะแก้สิ่งที่คุณเขียนด้วยเหมือนกัน อย่าถือโทษโกรธกัน! เพราะคนอื่นก็อยากให้วิกิพีเดียเป็นสารานุกรมดีที่สุดเท่าที่เป็นไปได้เหมือนกัน นอกจากนี้ เมื่อคุณเห็นข้อพิพาทในหน้าอภิปราย อย่าเป็นเพียงคนผ่านไปมา หรือ "เข้ามาดู" เท่านั้น ขอให้กล้าแล้วช่วยออกความเห็นได้เลย
กรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 2 เป็นหน่วยขึ้นตรงกองพลทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน มีที่ตั้งอยู่ที่ถนนทหาร แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ ภายในกองพลทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน{{กระบะทรายผู้ใช้}}
== ประวัติความเป็นมาของหน่วย ==
หลังจากเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 กระทรวงกลาโหมได้พิจารณาสั่งซื้อปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน ขนาดความกว้างปากลำกล้อง 40 มม. แบบอัตโนมัติ ติดตั้งบนรถสายพานหลังคาเปิด มีเกราะเหล็กรอบด้านจากบริษัท วิคเกอร์อาร์มสตรอง ประเทศอังกฤษ โดยสั่งผ่านบริษัทบาโรบราวน์ในประเทศไทย มาถึงประเทศไทยในเดือน สิงหาคม พ.ศ.2476  และขึ้นทะเบียนเป็นอาวุธประจำการ เป็นปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานแบบ 76 ขนาด 40 มม. นับว่าเป็นต้นกำเนิดของปืนใหญ่แบบเคลื่อนที่ด้วยตัวเอง ซึ่งกำลังใช้อยู่ในประเทศมหาอำนาจในขณะนั้น ในตอนที่ได้รับ ปตอ.แบบ 76 มาใหม่ๆ ยังมิทันจะปรับปรุงจัดกำลังแต่ประการใด ก็ได้เกิดการกบฏขึ้น เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ.2476  โดยได้มีบุคคลคณะหนึ่งมี พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าบวรเดชฯ เป็นหัวหน้ายกกำลังทหารหัวเมืองเข้ามายังจังหวัดพระนคร  เพื่อยึดอำนาจการปกครองจากรัฐบาล โดยตั้งกองบัญชาการอยู่ที่กรมอากาศยานดอนเมือง ทางฝ่ายรัฐบาลได้ยกกำลังออกปราบปรามจนฝ่ายตรงข้ามล่าถอย และพ่ายแพ้ในที่สุด ในการกบฏคราวนั้น หน่วยทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน ได้มีส่วนร่วมในการทำการปราบปรามด้วย เมื่อบ้านเมืองสงบเรียบร้อยแล้ว ในปี พ.ศ.2477 รัฐบาลได้สั่งซื้อ ปตอ.ขนาด 75 มม. จากสวีเดนเข้ามาอีก และเรียกชื่อว่า ปตอ.แบบ 77 เมื่อซื้อเข้ามาได้มากพอแล้วทางราชการจึงได้ตราพระราชบัญญัติ จัดตั้งกรมป้องกันต่อสู้อากาศยานขึ้น โดยมอบภารกิจในเรื่องการจัดการป้องกันภัยทางอากาศ ทำให้กรมป้องกันต่อสู้อากาศยานจึงถือกำเนิดขึ้น เมื่อเกิดสงครามมหาเอเซียบูรพา ประเทศไทยยอมร่วมรบเคียงบ่าเคียงไหล่กับญี่ปุ่น รัฐบาลได้สั่งซื้อปืนต่อสู้รถถัง ขนาด 20 มม. มาดัดแปลงให้สามารถยิงเครื่องบินได้ จำนวน 25 กระบอก เรียกชื่อว่า “ปตอ.แบบ 85” และจัดตั้ง พัน ปตอ.ขึ้นอีก 2 กองพัน เป็น กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 4 และ กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 5 ต่อมาหลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ทางราชการได้โอนการป้องกันฝ่ายพลเรือนให้กระทรวงมหาดไทย อาวุธปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ใช้อยู่ล้าสมัย ทางราชการจึงได้ยุบหน่วย ปตอ.ลงตามไปด้วย พัน.ปตอ. ที่ยุบได้แก่ พัน.ปตอ.แบบ 76 จำนวน 1 กองพัน และ พัน.ปตอ. แบบ 85 (ญี่ปุ่น) จำนวน 2 กองพัน และได้แปรสภาพจากกรมป้องกันต่อสู้อากาศยาน เป็น กรมต่อสู้อากาศยาน (กรม ตอ.) ในปี พ.ศ.2492
[[ไฟล์:Ceremony1801.jpg|right|312x312px|กรมสวนสนามร่วมในพิธีกระทำสัตย์ปฏิญาน และสวนสนามต่อธงชัยเฉลิมพล เนื่องในวันกองทัพไทย ]]
ในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2497 กองพลน้อยทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน ได้มีการแปรสภาพตามคำสั่งกระทรวงกลาโหม ทำให้มีหน่วยขึ้นตรง 2 หน่วย คือ กรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 1 และ กรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 2  หลังจากนั้นกองทัพบก ได้มีการปรับการบังคับบัญชาและการจัดหน่วยอีกหลายครั้ง จนกระทั่งวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ.2528  โดยกรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 2  ประกอบด้วย กองบังคับการ และ กองร้อยกองบังคับการกรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 2, กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 1 รักษาพระองค์, กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 2, กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 4  


== การปฏิบัติงานที่สำคัญ ==
'''แก้เองเลยถ้าทำได้ เพราะบ่นไปไม่ช่วยอะไร''' ถ้าคุณไปพบเจอข้อผิดพลาดหรือปัญหากำกวมซึ่งคนที่มีเหตุผลคนไหนเห็นแล้วก็น่าจะแนะนำให้แก้ไขนั้น ทางที่ดีที่สุดอาจเป็นการใช้ความกล้าแก้ไขปัญหานั้นเอง มากกว่าออกความเห็นหรือบ่นให้ผู้อื่น เพราะคุณควรเอาเวลาเขียนถึงปัญหามาพัฒนาสารานุกรมดีกว่า ถ้าไม่ได้เหลือบ่ากว่าแรงคุณเกินไปนัก
พ.ศ.2510  จัดกำลัง 1 ร้อย.ปตอ. ออกปฏิบัติการตามแผนธนูเพลิง ปฏิบัติการยิงต่อเครื่องบินและเฮลิคอปเตอร์ไม่ปรากฏสัญชาติและคุ้มครองประชาชนที่อยู่ในเขตรับผิดชอบ ตามแนวลำน้ำโขง อ.มุกดาหาร, อ.ธาตุพนม  ตั้งแต่ 10 ก.ย.2510 ถึง 24 ต.ค.2510  ผลการปฏิบัติสามารถยับยั้ง และลดการลักลอบเข้ามาปฏิบัติการของเครื่องบินและเฮลิคอปเตอร์ไม่ปรากฏสัญชาติลงได้อย่างดียิ่ง


พ.ศ.2514 การปฏิบัติการที่ อ.สหัสขันธ์  จ.กาฬสินธุ์ ตามอนุมัติผู้บัญชาการทหารบก โดยหน่วยเฉพาะกิจกองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน ได้เข้าปฏิบัติการตั้งแต่วันที่ 14 มี.ค. – 8 เม.ย.2514 ในพื้นที่ อ.สหัสขันธุ์ จ.กาฬสินธุ์
'''อย่าโกรธเคืองกันถ้าการแก้ไขของคุณถูกย้อนหรือลบ''' เป็นธรรมดาที่คุณรู้สึกภูมิใจหรือยึดติดในงาน [[วิกิพีเดีย:ความเป็นเจ้าของบทความ|"ของคุณ"]] แต่ขออย่าเก็บความรู้สึกนั้นมาใช้ในวิกิพีเดีย กรุณาอ่าน [[WP:AGF|วิกิพีเดีย:สันนิษฐานว่าผู้อื่นสุจริตใจ]] และ [[วิกิพีเดีย:มารยาท]] เพราะอย่าลืมว่าวิกิพีเดียเปิดโอกาสให้ทุกคนร่วมกันแก้ ถ้าคุณข้องใจ ขอให้กล้าตั้งกระทู้ในหน้าอภิปรายเพื่อไม่ให้เกิด[[วิกิพีเดีย:สงครามแก้ไข|สงครามแก้ไข]] โดยเฉพาะหน้าที่เขียนดีแล้วหรือหน้าที่มีคนเข้าชมมาก หรือจะคิดแบบนี้ก็ได้ว่าถ้าการแก้ไขคุณยังไม่เจอย้อน บางทีคุณอาจกล้าไม่พอหรือเปล่า


พ.ศ.2515 การปฏิบัติการตามแผนยุทธการภูขวาง หน่วยเฉพาะกิจกองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน ได้เข้าปฏิบัติการตั้งแต่วันที่ 31 มี.ค.2515 – 30 เม.ย.2515  ในพื้นที่ อ.หล่มสัก  จ.เพชรบูรณ์ โดยมีเหตุการณ์สำคัญคือ
สุดท้าย ขอย้ำเตือนให้คุณปฏิบัติตามกฎสำคัญของวิกิพีเดียเมื่อแก้ไขด้วยทุกครั้ง หรือแก้ไขตามตัวอย่างที่ดี และควรฟังคำตักเตือนที่สมเหตุสมผลของผู้ใช้ที่มีประสบการณ์มากกว่า


- วันที่ 15 เม.ย.2515 ฝ่ายเราได้ตั้งฐานอยู่บริเวณห้วยขมิ้น  โดยมีกำลัง 1 หมู่ ประกอบด้วย ปตอ.เอ็ม42 จำนวน 1 หน่วยยิง  และ ปตอ.เอ็ม16 จำนวน 1 หน่วยยิง ได้มีข้าศึกไม่ทราบจำนวนเข้ามาโจมตีโฉบฉวยที่ฐาน ฝ่ายเราได้ทำการตอบโต้จนกระทั่งข้าศึกได้ถอยหนีเข้าป่า
{{กล่องแนวปฏิบัติ}}


พ.ศ.2516 การปฏิบัติตามแผนยุทธการรามสูร หน่วยเฉพาะกิจกองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน ได้เข้าปฏิบัติการตั้งแต่วันที่ 22 ก.ค. – 23 มี.ค.2516 ในพื้นที่ อ.นาแก จ.นครพนม ซึ่งการปฏิบัติการครั้งนี้หน่วยเฉพาะกิจกองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน  สามารถปฏิบัติภารกิจได้หลายภารกิจ คือ
== แก้เลย แต่อย่าสะเพร่า ==
[[File:Consensus-flowchart.png|thumb|left|เนื้อหาบางประเด็นในวิกิพีเดียผ่านกระบวนการที่ยืดเยื้อและยาวนาน]]
ผู้ใช้ใหม่นั้น มักตื่นเต้นไปกับการเปิดกว้างของ[[วิกิพีเดีย]]และกระโจนเข้าใส่มัน นี่เป็นสิ่งที่ดี แต่อย่าลืมว่า ''ขอให้กล้า'' ยังรวมถึงการใส่ใจสิ่งดีร่วมกัน และ'''ไม่แก้ไขแบบรบกวนหรือสะเพร่า''' แน่อนว่าการเปลี่ยนแปลงที่สุดท้ายไม่ได้ทำให้วิกิพีเดียดีขึ้นกว่าเดิมอาจถูกย้อนได้ง่ายและไม่มีผลเสียระยะยาว สำคัญที่คุณไม่ควรรู้สึกว่าถูกดูหมิ่นถ้าเกิดเหตุการณ์เ่ช่นนี้ขึ้น ถ้าคุณไม่แน่ใจก็ถามได้เสมอ


1. แสดงแสนยานุภาพ
สำหรับการเปลี่ยนแปลงบทความที่เป็นเรื่องซับซ้อน และเต็มไปด้วยการโต้เถียง มีประวัติไม่ลงรอยกันอย่างยาวนาน รวมทั้ง[[WP:FA|บทความคัดสรร]]และ[[WP:FA|บทความคุณภาพ]] คุณอาจต้องใช้ความระมัดระวังเพิ่มขึ้น เพราะหลายกรณีนั้น ข้อความในหน้าดังกล่าวเป็นผลมาจากการเจรจาอย่างยาวนานและดุเดือดระหว่างชาววิกิพีเดียที่มีภูมิหลังและทัศนะต่างกัน การทะเล่อทะล่าแก้ไขโดยไม่ระวังอาจการเป็นการเข้าไปตีรังผึ้ง และคนอื่นที่เคยมีประเด็นกับเรื่องนี้อาจมีปฏิกิริยาตอบโต้ได้ คุณควรเคารพใน ''ระบบที่เป็นอยู่'' บ้าง เช่น หลีกเลี่ยงการแก้ไขบทความ ถ้าในขณะนั้นกำลังมีการลงความเห็นอยู่ โดยเฉพาะถ้ายังไม่มีความเห็นพ้องกันของฝ่ายที่เกี่ยวข้องอย่างชัดเจน ในกรณีนี้ถ้าไม่ใช่การแก้ไขเล็ก ๆ น้อย ๆ อย่างไวยากรณ์หรือการสะกดคำ ขอให้อ่านทั้งบทความและดูความเห็นในหน้าคุยก่อน และการขอ[[วิกิพีเดีย:ความเห็นพ้อง|ความเห็นพ้อง]]ก่อนการแก้ไขที่อาจก่อให้เกิดประเด็นใหม่ ๆ ก็เป็นความคิดที่ดี ขอให้ใช้วิจารณญาณอย่างบรรณาธิการอย่างดีที่สุดเสมอ ส่วนถ้าคุณเป็น[[วิกิพีเดีย:ชาววิกิพีเดีย|ชาววิกิพีเดีย]]ผู้ช่ำชอง คุณน่าจะพอทราบได้จากประสบการณ์ว่าการแก้ไขใดเป็นสิ่งที่ผู้อื่นยอมรับ และสิ่งใดควรสอบถามก่อน


2. ลาดตระเวนหาข่าว
แต่ถ้าคุณเป็นผู้ใช้มือใหม่และไม่แน่ใจว่าคนอื่น ๆ จะมองการแก้ไขของคุณว่าอย่างไร แต่คุณก็ต้องการจะแก้ไขหรือลบบางส่วนของบทความ เราแนะนำว่าคุณควรจะ
# คัดลอกข้อความดังกล่าวไปยังหน้าอภิปราย และเขียนความเห็นขัดแย้งของคุณไว้ (ในกรณีที่ส่วนดังกล่าวเป็นประโยค หรือมีความยาวระดับประโยค)
# เขียนความเห็นของคุณไว้ในหน้าอภิปราย แต่เก็บหน้าบทความไว้เช่นเดิม (ในกรณีที่ส่วนดังกล่าวมีความยาวค่อนข้างมาก)


3. ตัดเส้นทางส่งกำลังบำรุงของผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์
หลังจากนั้นรอคำตอบสักระยะ ถ้าไม่มีใครมีความเห็นขัดแย้ง คุณก็สามารถดำเนินการไปได้ แต่อย่าลืมที่จะย้ายส่วนที่ลบที่มีขนาดใหญ่ ไปไว้ที่หน้าอภิปราย และเขียนความเห็นของคุณกำกับไว้ด้วย เพื่อที่ผู้ใช้คนอื่น ๆ จะได้เข้าใจการแก้ไขของคุณ และสามารถเข้าใจประวัติของบทความนั้นได้ และอย่าลืมที่จะใส่[[วิกิพีเดีย:คำอธิบายอย่างย่อ|คำอธิบายอย่างย่อ]]ของการแก้ไขของคุณลงไปด้วย


4. ยิงที่หมายทางอากาศ (เฮลิคอปเตอร์และ เครื่องบินไม่ทราบฝ่าย)
ทั้งนี้ขอให้กล้าไม่อาจใช้เป็นข้ออ้างละเมิด[[WP:BLP|นโยบายเนื้อหาบุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่]]ได้แม้เพียงชั่วคราว


การปฏิบัติตามแผนป้องกันประเทศ สนับสนุนกองทัพภาคที่ 1 โดยมีเหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้น 2 ครั้ง คือ[[ไฟล์:Aaa22.jpg.jpg|thumb|191x191px]]        ครั้งที่ 1 ได้เกิดเหตุการณ์ปะทะระหว่างทหารไทยกับทหารเวียดนาม  ซึ่งรุกล้ำเข้ามาทางบ้านโนนหมากมุ่น กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 1 รักษาพระองค์ได้รับมอบภารกิจให้ไปป้องกันฐานยิงของ กองพันทหารปืนใหญ่ที่ 201 กองร้อยที่ 2 ที่บ้านโคกสว่าง และในวันที่ 25 มิ.ย.2523  หน่วยจึงได้จัดอาวุธปืนใหญ่ต่อสู่อากาศยาน  จากบ้านตะแบกป่า บ้านแชร์ออ ทำการป้องกัน 4 หน่วยยิง  ประกอบด้วย ปตอ.40 มม.  จำนวน 2 หน่วยยิง และ  ปตอ.12.7 มม.  จำนวน 2 หน่วยยิง  ผลการปฏิบัติคือ  ข้าศึกได้รับความสูญเสียไปเป็นจำนวนมาก
=== แต่อย่าเพิ่งกลัวไป ===
อย่างไรก็ดี สำหรับบทความอื่น ๆ อีกมากมายนั้น คุณสามารถจะเข้าไปแก้ไขเช่นใดก็ได้ตามที่คุณเห็นว่าดี เฉพาะบางเรื่องที่อ่อนไหวเท่านั้นที่คุณจะต้องระมัดระวัง และโดยมากคุณก็น่าจะรู้ได้ในทันที ส่วนในกรณีที่คุณไม่ทราบ ถ้าคุณชอบที่จะโต้เถียง ส่วนใหญ่แล้ว ''ความกล้า'' ของคุณก็มักจะเป็นจุดยืนที่พออธิบายได้ ยิ่งไปกว่านั้น คุณก็ไม่น่าจะเป็นคนแรกที่เข้าไปแก้ไขบทความที่มีการโต้เถียงเหล่านั้น และแน่นอน คุณคงจะไม่ใช่คนสุดท้าย พูดง่าย ๆ ก็คือการปรับปรุงที่มีการเพิ่มเติมเนื้อหาและข้อมูลมีแนวโน้มที่จะได้รับการยอมรับ มากกว่าการปรับปรุงที่ลบ หรือตัดเนื้อหาบางส่วนทิ้ง


        ครั้งที่ 2 กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 1 รักษาพระองค์ ได้รับภารกิจจากกองทัพภาคที่ 1 ให้ไปทำการยิงป้องปรามของฝ่ายตรงข้ามที่บินเข้ามาในทิศทางหลักเขตที่ 28 บริเวณช่องเขากิ่ว และเขาทิ้งกับ ในห้วงเวลาตั้งแต่ 1900 – 2100 หน่วยได้จัดอาวุธออกไป 4 หน่วยยิง  จากฐานตานี ไปเข้าที่รวมพลที่ฐานเอกราช ซึ่งเป็นหน่วยของหน่วยเฉพาะกิจกรมทหารที่ 1 รักษาพระองค์  และในวันที่ 16 ม.ค.2524  เวลา 2030  หน่วยได้ปฏิบัติภารกิจยิงต่อเครื่องบินข้าศึกที่บริเวณดังกล่าวได้อีก  ผลการปฏิบัติสามารถป้องปรามมิให้เครื่องบินข้าศึกมาบินที่บริเวณพื้นที่ดังกล่าวได้อีก 
'''เราขอแค่อย่าทำพลาดในเรื่องเดิมซ้ำบ่อย ๆ'''


การปฏิบัติภารกิจด้านการป้องก้ันและบรรเทาสาธาณภัย กรณีเกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ พ.ศ. 2554 โดยกรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 2 ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบพื้นที่บรรเทาสาธารณภัย จังหวัดนนทบุรี ในขณะนั้น ทั้งด้านการป้องกัน ช่วยเหลือ และฟื้นฟูผู้ประสบอุทกภัย ภารกิจในครั้งนั้นมีทหารกองประจำการของหน่วยบัญชาการป้องกันภัยทางอากาศ กองทัพบก ที่ครบกำหนดปลดประจำการ แต่สมัครใจอยู่ต่อ จำนวน 420 นาย ในขณะที่สถานการณ์น้ำท่วมยังคงดำเนินอยู่ต่อไป ทำให้ได้รับความชื่นชมเป็นอย่างมาก กองทัพบกจึงได้มอบประกาศเกียรติคุณให้เพื่อเป็นการขอบคุณในความเสียสละของกำลังพลเหล่านั้น
== คอยปรับปรุงโดยดูตัวอย่างที่ดี ==
คุณสามารถพัฒนาทักษะในการเขียนของคุณได้โดยการเรียนรู้จากการเขียนของคนอื่น บางทีคุณอาจเรียนรู้จากการสังเกตความเปลี่ยนแปลงของบทความที่คุณเขียน (หรือบทความอื่น ๆ ที่คุณสนใจ) เฝ้าดูว่าคนอื่นเขาปรับแต่งบทความที่คุณเขียนไว้อย่างไร วิธีนี้จะช่วยให้คุณเรียนรู้ในเบื้องต้นได้อย่างรวดเร็วทีเดียว นอกจากนี้ เมื่อมีผู้ใช้ประสบการณ์มากกว่ามาให้คำแนะนำที่สมเหตุสมผลแก่คุณ ขอให้คุณปฏิบัติตาม อย่าดึงดันแก้ไขตามความคิดของคุณฝ่ายเดียว เพราะอย่าลืมว่าวิกิพีเดียมีกรอบกฎเกณฑ์บางอย่างที่คุณไม่พึงละเมิดหากคุณยังต้องการเข้าร่วมในชุมชนแห่งนี้อยู่


     
== การกระทำและการแก้ไขที่มีผลกระทบในวงกว้าง ==
เราแนะนำให้คุณระมัดระวังเป็นพิเศษในกรณีที่การแก้ไขของคุณจะกระทบกับหน้าหลาย ๆ หน้า เช่น การแก้แม่แบบ หรือการย้ายหน้าที่ถูกเชื่อมโยงมาเป็นจำนวนมาก &nbsp;&nbsp;&nbsp; แม้จะไม่ใช่ข้อบังคับ แต่เราแนะนำว่าคุณควรศึกษาและทำความคุ้นเคยกับนโยบายและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง (เช่น [[วิกิพีเดีย:หลักการตั้งชื่อบทความ]]) ก่อนจะเริ่มย้ายหน้า นอกจากนี้ จะเป็นมารยาทที่ดี ถ้าคุณยินดีที่จะแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในหน้าที่ถูกผลกระทบจากการแก้ไขของคุณด้วย


== หน่วยขึ้นตรง ==
== ดูเพิ่ม ==
<references />
* [[วิกิพีเดีย:การแก้ไขหน้า|การแก้ไขหน้า]]
กรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 2 มีหน่วยขึ้นตรง จำนวน 3 กองพัน คือ
* [[แม่แบบ:มาช่วยกัน|มาช่วยกัน]]


* กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 1 กรมทหารปืนใหญ่่ต่อสู้อากาศยานที่ 2 รักษาพระองค์
{{นโยบายและแนวปฏิบัติ}}
* กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 2 กรมทหารปืนใหญ่่ต่อสู้อากาศยานที่ 2
[[หมวดหมู่:แนวปฏิบัติวิกิพีเดีย]]
* กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 4 กรมทหารปืนใหญ่่ต่อสู้อากาศยานที่ 2
{{เรียงลำดับ|{{PAGENAME}}}}

== วันสถาปนาหน่วย ==
ในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2497 กองพลน้อยทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน ได้มีการแปรสภาพตามคำสั่งกระทรวงกลาโหม ทำให้มีหน่วยขึ้นตรง 2 หน่วย คือ กรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 1 และ กรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 2 ดังนั้นจึงกำหนดให้วันที่ 16 กุมภาพันธ์ ของทุกปีเป็นวันสถาปนาหน่วย โดยยึดถือเป็นประเพณีสืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน

== รายนามผู้บังคับการกรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 2 ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ==
{| class="wikitable sortable mw-collapsible mw-collapsed"
|+
!ลำดับที่
!ยศ - ชื่อ
!สกุล
!ปีที่ดำรงตำแหน่ง
|-
|1.
|พ.อ.สัมฤทธิ์
|แพทย์เจริญ
|พ.ศ. 2497 – 2505
|-
|2.
|พ.อ.สิทธิ  
|ศิลปสุขุม  
|พ.ศ. 2505 – 2513
|-
|3.
|พ.อ.ปวัฒนวงศ์
|หุตะเสวี
|พ.ศ. 2513 – 2516
|-
|4.
|พ.อ.พูน
|ทรงศิลป์
|พ.ศ. 2516 – 2522
|-
|5.
|พ.อ.บุลศักดิ์
|โพธิเจริญ         
|พ.ศ. 2522 – 2524
|-
|6.
|พ.อ.การุญ 
|ฉายเหมือนวงศ์
|พ.ศ. 2524 – 2525
|-
|7.
|พ.อ.ประเสริฐ                                               
|ชูหมื่นไวย  
|พ.ศ. 2525 – 2527
|-
|8.
|พ.อ.สำเภา
|ชูศรี  
|พ.ศ. 2527 – 2531
|-
|9.
|พ.อ.เถกิง
|มุ่งธัญญา
|พ.ศ. 2531 –2533
|-
|10.
|พ.อ.สุรเชษฐ์
|ห่อประทุม
|พ.ศ. 2533 – 2535
|-
|11.
|พ.อ.สุรพันธ์
|พุ่มแก้ว    
|พ.ศ. 2535 – 2539
|-
|12.
|พ.อ.ฦๅฤทธิ์
|จุลกรังคะ
|พ.ศ. 2539 – 2542
|-
|13.
|พ.อ.ยุทธศิลป์
|โดยชื่นงาม
|พ.ศ. 2542 – 2545
|-
|14.
|พ.อ.จิรเดช
|สิทธิประณีต
|พ.ศ. 2545 – 2546
|-
|15.
|พ.อ.มณฑล
|ไชยเสวี
|พ.ศ. 2546 – 2547
|-
|16.
|พ.อ.ทวีป
|กิ่งเกล้า
|พ.ศ. 2547 – 2548
|-
|17.
|พ.อ.โชติอนันต์ปรีชา
|ทรัพย์หิรัญ
|พ.ศ. 2548 – 2551
|-
|18.
|พ.อ.ศักดิ์ณรงค์
|เอียงพยุง
|พ.ศ. 2551 – 2552
|-
|19.
|พ.อ.วิรัตน์
|นาคจู
|พ.ศ. 2552 – 2553
|-
|20.
|พ.อ.วรวุฒิ
|วุฒิศิริ
|พ.ศ. 2553 – 2556
|-
|21.
|พ.อ.พัลลภ
|เฟื่องฟู
|พ.ศ. 2556 – 2558
|-
|22.
|พ.อ.เกรียงศักดิ์
|เสนาะพิน
|พ.ศ.2558 – 2560
|-
|23.
|พ.อ.ไพบูลย์
|พุ่มพิเชฏฐ์
|พ.ศ. 2560  - ปัจจุบัน
|}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:50, 24 พฤศจิกายน 2563

กรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 2

กรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 2
ไฟล์:Aaa2.jpg.png
ประเทศไทย
รูปแบบกรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน
กำลังรบสนับสนุนการรบ
สีหน่วยฟ้า - เหลือง
ผู้บังคับบัญชา
ผบ.ปตอ.2 ปัจจุบันพ.อ.ไพบูลย์ พุ่มพิเชฏฐ์

กรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 2 เป็นหน่วยขึ้นตรงกองพลทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน มีที่ตั้งอยู่ที่ถนนทหาร แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ ภายในกองพลทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานThis sandbox is in the วิกิพีเดีย namespace. Either move this page into your userspace, or remove the แม่แบบ:Tp template.

ประวัติความเป็นมาของหน่วย

หลังจากเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 กระทรวงกลาโหมได้พิจารณาสั่งซื้อปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน ขนาดความกว้างปากลำกล้อง 40 มม. แบบอัตโนมัติ ติดตั้งบนรถสายพานหลังคาเปิด มีเกราะเหล็กรอบด้านจากบริษัท วิคเกอร์อาร์มสตรอง ประเทศอังกฤษ โดยสั่งผ่านบริษัทบาโรบราวน์ในประเทศไทย มาถึงประเทศไทยในเดือน สิงหาคม พ.ศ.2476  และขึ้นทะเบียนเป็นอาวุธประจำการ เป็นปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานแบบ 76 ขนาด 40 มม. นับว่าเป็นต้นกำเนิดของปืนใหญ่แบบเคลื่อนที่ด้วยตัวเอง ซึ่งกำลังใช้อยู่ในประเทศมหาอำนาจในขณะนั้น ในตอนที่ได้รับ ปตอ.แบบ 76 มาใหม่ๆ ยังมิทันจะปรับปรุงจัดกำลังแต่ประการใด ก็ได้เกิดการกบฏขึ้น เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ.2476  โดยได้มีบุคคลคณะหนึ่งมี พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าบวรเดชฯ เป็นหัวหน้ายกกำลังทหารหัวเมืองเข้ามายังจังหวัดพระนคร  เพื่อยึดอำนาจการปกครองจากรัฐบาล โดยตั้งกองบัญชาการอยู่ที่กรมอากาศยานดอนเมือง ทางฝ่ายรัฐบาลได้ยกกำลังออกปราบปรามจนฝ่ายตรงข้ามล่าถอย และพ่ายแพ้ในที่สุด ในการกบฏคราวนั้น หน่วยทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน ได้มีส่วนร่วมในการทำการปราบปรามด้วย เมื่อบ้านเมืองสงบเรียบร้อยแล้ว ในปี พ.ศ.2477 รัฐบาลได้สั่งซื้อ ปตอ.ขนาด 75 มม. จากสวีเดนเข้ามาอีก และเรียกชื่อว่า ปตอ.แบบ 77 เมื่อซื้อเข้ามาได้มากพอแล้วทางราชการจึงได้ตราพระราชบัญญัติ จัดตั้งกรมป้องกันต่อสู้อากาศยานขึ้น โดยมอบภารกิจในเรื่องการจัดการป้องกันภัยทางอากาศ ทำให้กรมป้องกันต่อสู้อากาศยานจึงถือกำเนิดขึ้น เมื่อเกิดสงครามมหาเอเซียบูรพา ประเทศไทยยอมร่วมรบเคียงบ่าเคียงไหล่กับญี่ปุ่น รัฐบาลได้สั่งซื้อปืนต่อสู้รถถัง ขนาด 20 มม. มาดัดแปลงให้สามารถยิงเครื่องบินได้ จำนวน 25 กระบอก เรียกชื่อว่า “ปตอ.แบบ 85” และจัดตั้ง พัน ปตอ.ขึ้นอีก 2 กองพัน เป็น กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 4 และ กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 5 ต่อมาหลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ทางราชการได้โอนการป้องกันฝ่ายพลเรือนให้กระทรวงมหาดไทย อาวุธปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ใช้อยู่ล้าสมัย ทางราชการจึงได้ยุบหน่วย ปตอ.ลงตามไปด้วย พัน.ปตอ. ที่ยุบได้แก่ พัน.ปตอ.แบบ 76 จำนวน 1 กองพัน และ พัน.ปตอ. แบบ 85 (ญี่ปุ่น) จำนวน 2 กองพัน และได้แปรสภาพจากกรมป้องกันต่อสู้อากาศยาน เป็น กรมต่อสู้อากาศยาน (กรม ตอ.) ในปี พ.ศ.2492

กรมสวนสนามร่วมในพิธีกระทำสัตย์ปฏิญาน และสวนสนามต่อธงชัยเฉลิมพล เนื่องในวันกองทัพไทย
กรมสวนสนามร่วมในพิธีกระทำสัตย์ปฏิญาน และสวนสนามต่อธงชัยเฉลิมพล เนื่องในวันกองทัพไทย

ในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2497 กองพลน้อยทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน ได้มีการแปรสภาพตามคำสั่งกระทรวงกลาโหม ทำให้มีหน่วยขึ้นตรง 2 หน่วย คือ กรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 1 และ กรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 2  หลังจากนั้นกองทัพบก ได้มีการปรับการบังคับบัญชาและการจัดหน่วยอีกหลายครั้ง จนกระทั่งวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ.2528  โดยกรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 2  ประกอบด้วย กองบังคับการ และ กองร้อยกองบังคับการกรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 2, กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 1 รักษาพระองค์, กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 2, กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 4  

การปฏิบัติงานที่สำคัญ

พ.ศ.2510  จัดกำลัง 1 ร้อย.ปตอ. ออกปฏิบัติการตามแผนธนูเพลิง ปฏิบัติการยิงต่อเครื่องบินและเฮลิคอปเตอร์ไม่ปรากฏสัญชาติและคุ้มครองประชาชนที่อยู่ในเขตรับผิดชอบ ตามแนวลำน้ำโขง อ.มุกดาหาร, อ.ธาตุพนม  ตั้งแต่ 10 ก.ย.2510 ถึง 24 ต.ค.2510  ผลการปฏิบัติสามารถยับยั้ง และลดการลักลอบเข้ามาปฏิบัติการของเครื่องบินและเฮลิคอปเตอร์ไม่ปรากฏสัญชาติลงได้อย่างดียิ่ง

พ.ศ.2514 การปฏิบัติการที่ อ.สหัสขันธ์  จ.กาฬสินธุ์ ตามอนุมัติผู้บัญชาการทหารบก โดยหน่วยเฉพาะกิจกองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน ได้เข้าปฏิบัติการตั้งแต่วันที่ 14 มี.ค. – 8 เม.ย.2514 ในพื้นที่ อ.สหัสขันธุ์ จ.กาฬสินธุ์

พ.ศ.2515 การปฏิบัติการตามแผนยุทธการภูขวาง หน่วยเฉพาะกิจกองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน ได้เข้าปฏิบัติการตั้งแต่วันที่ 31 มี.ค.2515 – 30 เม.ย.2515  ในพื้นที่ อ.หล่มสัก  จ.เพชรบูรณ์ โดยมีเหตุการณ์สำคัญคือ

- วันที่ 15 เม.ย.2515 ฝ่ายเราได้ตั้งฐานอยู่บริเวณห้วยขมิ้น  โดยมีกำลัง 1 หมู่ ประกอบด้วย ปตอ.เอ็ม42 จำนวน 1 หน่วยยิง  และ ปตอ.เอ็ม16 จำนวน 1 หน่วยยิง ได้มีข้าศึกไม่ทราบจำนวนเข้ามาโจมตีโฉบฉวยที่ฐาน ฝ่ายเราได้ทำการตอบโต้จนกระทั่งข้าศึกได้ถอยหนีเข้าป่า

พ.ศ.2516 การปฏิบัติตามแผนยุทธการรามสูร หน่วยเฉพาะกิจกองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน ได้เข้าปฏิบัติการตั้งแต่วันที่ 22 ก.ค. – 23 มี.ค.2516 ในพื้นที่ อ.นาแก จ.นครพนม ซึ่งการปฏิบัติการครั้งนี้หน่วยเฉพาะกิจกองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน  สามารถปฏิบัติภารกิจได้หลายภารกิจ คือ

1. แสดงแสนยานุภาพ

2. ลาดตระเวนหาข่าว

3. ตัดเส้นทางส่งกำลังบำรุงของผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์

4. ยิงที่หมายทางอากาศ (เฮลิคอปเตอร์และ เครื่องบินไม่ทราบฝ่าย)

การปฏิบัติตามแผนป้องกันประเทศ สนับสนุนกองทัพภาคที่ 1 โดยมีเหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้น 2 ครั้ง คือ

        ครั้งที่ 1 ได้เกิดเหตุการณ์ปะทะระหว่างทหารไทยกับทหารเวียดนาม  ซึ่งรุกล้ำเข้ามาทางบ้านโนนหมากมุ่น กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 1 รักษาพระองค์ได้รับมอบภารกิจให้ไปป้องกันฐานยิงของ กองพันทหารปืนใหญ่ที่ 201 กองร้อยที่ 2 ที่บ้านโคกสว่าง และในวันที่ 25 มิ.ย.2523  หน่วยจึงได้จัดอาวุธปืนใหญ่ต่อสู่อากาศยาน  จากบ้านตะแบกป่า บ้านแชร์ออ ทำการป้องกัน 4 หน่วยยิง  ประกอบด้วย ปตอ.40 มม.  จำนวน 2 หน่วยยิง และ  ปตอ.12.7 มม.  จำนวน 2 หน่วยยิง  ผลการปฏิบัติคือ  ข้าศึกได้รับความสูญเสียไปเป็นจำนวนมาก

        ครั้งที่ 2 กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 1 รักษาพระองค์ ได้รับภารกิจจากกองทัพภาคที่ 1 ให้ไปทำการยิงป้องปรามของฝ่ายตรงข้ามที่บินเข้ามาในทิศทางหลักเขตที่ 28 บริเวณช่องเขากิ่ว และเขาทิ้งกับ ในห้วงเวลาตั้งแต่ 1900 – 2100 หน่วยได้จัดอาวุธออกไป 4 หน่วยยิง  จากฐานตานี ไปเข้าที่รวมพลที่ฐานเอกราช ซึ่งเป็นหน่วยของหน่วยเฉพาะกิจกรมทหารที่ 1 รักษาพระองค์  และในวันที่ 16 ม.ค.2524  เวลา 2030  หน่วยได้ปฏิบัติภารกิจยิงต่อเครื่องบินข้าศึกที่บริเวณดังกล่าวได้อีก  ผลการปฏิบัติสามารถป้องปรามมิให้เครื่องบินข้าศึกมาบินที่บริเวณพื้นที่ดังกล่าวได้อีก 

การปฏิบัติภารกิจด้านการป้องก้ันและบรรเทาสาธาณภัย กรณีเกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ พ.ศ. 2554 โดยกรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 2 ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบพื้นที่บรรเทาสาธารณภัย จังหวัดนนทบุรี ในขณะนั้น ทั้งด้านการป้องกัน ช่วยเหลือ และฟื้นฟูผู้ประสบอุทกภัย ภารกิจในครั้งนั้นมีทหารกองประจำการของหน่วยบัญชาการป้องกันภัยทางอากาศ กองทัพบก ที่ครบกำหนดปลดประจำการ แต่สมัครใจอยู่ต่อ จำนวน 420 นาย ในขณะที่สถานการณ์น้ำท่วมยังคงดำเนินอยู่ต่อไป ทำให้ได้รับความชื่นชมเป็นอย่างมาก กองทัพบกจึงได้มอบประกาศเกียรติคุณให้เพื่อเป็นการขอบคุณในความเสียสละของกำลังพลเหล่านั้น

     

หน่วยขึ้นตรง

กรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 2 มีหน่วยขึ้นตรง จำนวน 3 กองพัน คือ

  • กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 1 กรมทหารปืนใหญ่่ต่อสู้อากาศยานที่ 2 รักษาพระองค์
  • กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 2 กรมทหารปืนใหญ่่ต่อสู้อากาศยานที่ 2
  • กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 4 กรมทหารปืนใหญ่่ต่อสู้อากาศยานที่ 2

วันสถาปนาหน่วย

ในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2497 กองพลน้อยทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน ได้มีการแปรสภาพตามคำสั่งกระทรวงกลาโหม ทำให้มีหน่วยขึ้นตรง 2 หน่วย คือ กรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 1 และ กรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 2 ดังนั้นจึงกำหนดให้วันที่ 16 กุมภาพันธ์ ของทุกปีเป็นวันสถาปนาหน่วย โดยยึดถือเป็นประเพณีสืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน

รายนามผู้บังคับการกรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 2 ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน

ลำดับที่ ยศ - ชื่อ สกุล ปีที่ดำรงตำแหน่ง
1. พ.อ.สัมฤทธิ์ แพทย์เจริญ พ.ศ. 2497 – 2505
2. พ.อ.สิทธิ   ศิลปสุขุม   พ.ศ. 2505 – 2513
3. พ.อ.ปวัฒนวงศ์ หุตะเสวี พ.ศ. 2513 – 2516
4. พ.อ.พูน ทรงศิลป์ พ.ศ. 2516 – 2522
5. พ.อ.บุลศักดิ์ โพธิเจริญ          พ.ศ. 2522 – 2524
6. พ.อ.การุญ  ฉายเหมือนวงศ์ พ.ศ. 2524 – 2525
7. พ.อ.ประเสริฐ                                                ชูหมื่นไวย   พ.ศ. 2525 – 2527
8. พ.อ.สำเภา ชูศรี   พ.ศ. 2527 – 2531
9. พ.อ.เถกิง มุ่งธัญญา พ.ศ. 2531 –2533
10. พ.อ.สุรเชษฐ์ ห่อประทุม พ.ศ. 2533 – 2535
11. พ.อ.สุรพันธ์ พุ่มแก้ว     พ.ศ. 2535 – 2539
12. พ.อ.ฦๅฤทธิ์ จุลกรังคะ พ.ศ. 2539 – 2542
13. พ.อ.ยุทธศิลป์ โดยชื่นงาม พ.ศ. 2542 – 2545
14. พ.อ.จิรเดช สิทธิประณีต พ.ศ. 2545 – 2546
15. พ.อ.มณฑล ไชยเสวี พ.ศ. 2546 – 2547
16. พ.อ.ทวีป กิ่งเกล้า พ.ศ. 2547 – 2548
17. พ.อ.โชติอนันต์ปรีชา ทรัพย์หิรัญ พ.ศ. 2548 – 2551
18. พ.อ.ศักดิ์ณรงค์ เอียงพยุง พ.ศ. 2551 – 2552
19. พ.อ.วิรัตน์ นาคจู พ.ศ. 2552 – 2553
20. พ.อ.วรวุฒิ วุฒิศิริ พ.ศ. 2553 – 2556
21. พ.อ.พัลลภ เฟื่องฟู พ.ศ. 2556 – 2558
22. พ.อ.เกรียงศักดิ์ เสนาะพิน พ.ศ.2558 – 2560
23. พ.อ.ไพบูลย์ พุ่มพิเชฏฐ์ พ.ศ. 2560  - ปัจจุบัน