ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีกลางบางซื่อ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Boripat2543 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 224: บรรทัด 224:
| style = "border-bottom:solid 1px gray;" valign=top|ชั้นขายบัตรโดยสาร
| style = "border-bottom:solid 1px gray;" valign=top|ชั้นขายบัตรโดยสาร
|style="border-bottom:solid 1px gray;" valign=top|โถงพักคอยและรับผู้โดยสาร, ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร , ร้านค้า<br>รถโดยสารประจำทาง, รถประจำทางด่วนพิเศษเชื่อมต่อ[[สถานีหมอชิต]]<br>ทางออก E1-E4 (ฝั่งทางพิเศษศรีรัช), ทางออก W1-W4 และทางไปชานชาลา 25-28 (ฝั่งสถานีชุมทางบางซื่อเดิม)
|style="border-bottom:solid 1px gray;" valign=top|โถงพักคอยและรับผู้โดยสาร, ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร , ร้านค้า<br>รถโดยสารประจำทาง, รถประจำทางด่วนพิเศษเชื่อมต่อ[[สถานีหมอชิต]]<br>ทางออก E1-E4 (ฝั่งทางพิเศษศรีรัช), ทางออก W1-W4 และทางไปชานชาลา 25-28 (ฝั่งสถานีชุมทางบางซื่อเดิม)

|-
| style = "border-bottom:solid 1px gray;" rowspan=1 valign=top|'''G<br>ระดับถนน<br>'''
| style="border-bottom:solid 1px gray;" valign="top" | -
| style="border-bottom:solid 1px gray;" valign="top" |ป้ายรถประจำทาง, [[สถานีบางซื่อ (รถไฟฟ้ามหานคร)|สถานีบางซื่อ]] ทางออก 1-2
|-
| style = "border-bottom:solid 1px gray;" rowspan=6 valign=top |'''G<br>ชานชาลารถไฟทางไกล<br/>สายใต้<br/>สายเหนือ<br/>สายตะวันออกเฉียงเหนือ'''
| style = "border-bottom:solid 1px gray;"|ชานชาลา<font color = {{SRT color|SRT ใต้}}> '''28'''</font>
| style = "border-bottom:solid 1px gray;"|{{SRT Lines|SRT ใต้}} ปลายทาง สถานีกันตัง, สถานีนครศรีธรรมราช, สถานีปาดังเบซาร์, สถานีสุไหงโกลก
|-
| style = "border-top:solid 2px black;border-right:solid 2px black;border-left:solid 2px black;border-bottom:solid 2px black;" colspan=2|<center><small>[[ชานชาลาเกาะกลาง]], ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย/ขวา</small></center>
|-
| style = "border-bottom:solid 1px gray;"|ชานชาลา<font color = {{SRT color|SRT ใต้}}> '''27'''</font>
| style = "border-bottom:solid 1px gray;"|{{SRT Lines|SRT ใต้}} ปลายทาง สถานีกรุงเทพ
|-
| style = "border-bottom:solid 1px gray;"|ชานชาลา <font color = {{SRT color|สายเหนือ}}> '''26'''</font>, <font color = {{SRT color|สายตะวันออกเฉียงเหนือ}}> '''26'''</font>
| style = "border-bottom:solid 1px gray;"|{{SRT Lines|SRT เหนือ}} ปลายทาง สถานีเชียงใหม่, สถานีเชียงของ(อนาคต)<br>{{SRT Lines|SRT ตะวันออกเฉียงเหนือ}} ปลายทาง สถานีหนองคาย, สถานีอุบลราชธานี
|-
| style = "border-top:solid 2px black;border-right:solid 2px black;border-left:solid 2px black;border-bottom:solid 2px black;" colspan=2|<center><small>[[ชานชาลาเกาะกลาง]], ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย/ขวา
|-
| style = "border-bottom:solid 1px gray;"|ชานชาลา <font color = {{SRT color|สายเหนือ}}> '''25'''</font>, <font color = {{SRT color|สายตะวันออกเฉียงเหนือ}}> '''25'''</font>
| style = "border-bottom:solid 1px gray;"|{{SRT Lines|SRT เหนือ}} ปลายทาง สถานีกรุงเทพ<br>{{SRT Lines|SRT ตะวันออกเฉียงเหนือ}} ปลายทาง สถานีกรุงเทพ
|-
| style = "border-bottom:solid 1px gray;" rowspan=1 valign=top|'''G<br>ระดับถนน<br>'''
| style="border-bottom:solid 1px gray;" valign="top" | -
| style="border-bottom:solid 1px gray;" valign="top" |ย่านสับเปลี่ยน, โรงรถจักร, โครงการ[[สถานีกลางบางซื่อ]]
|-
|-
| style = "border-bottom:solid 1px gray;" valign=top|'''ชั้นใต้ดิน B1'''
| style = "border-bottom:solid 1px gray;" valign=top|'''ชั้นใต้ดิน B1'''
บรรทัด 245: บรรทัด 271:
|-
|-
|}
|}



== สถานีใกล้เคียง ==
== สถานีใกล้เคียง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:16, 18 พฤศจิกายน 2563

แม่แบบ:SRTComuter สถานีกลางบางซื่อ (อังกฤษ: Bang Sue Grand Station) เป็นโครงการก่อสร้างสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย เพื่อทดแทนสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) โดยตั้งอยู่ใจกลางศูนย์คมนาคมพหลโยธินในพื้นที่เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร กำหนดเปิดใช้งานในปี พ.ศ. 2564-2565 พร้อมกับเส้นทางรถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดง

สถานีกลางบางซื่อมีความยาว 596.6 เมตร ความกว้าง 244 เมตร ความสูง 43 เมตร พื้นที่ใช้สอยรวม 274,192 ตารางเมตร[1] ทำให้เมื่อก่อสร้างแล้วเสร็จจะเป็นสถานีรถไฟหลักแห่งใหม่ของประเทศไทย และเป็นสถานีรถไฟใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้[ต้องการอ้างอิง] ก่อสร้างด้วยงบประมาณ 15,988 ล้านบาท[2] ประกอบด้วยชานชาลา 26 ชานชาลา เป็นชานชาลาของการรถไฟแห่งประเทศไทย 24 ชานชาลา และของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย 2 ชานชาลา

ประวัติ

ในคราวการก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน ช่วงบางซื่อ-ตลิ่งชัน เมื่อ พ.ศ. 2552 ได้ออกแบบให้มีการก่อสร้างทางยกระดับบางส่วนสำหรับเข้าสถานีกลางบางซื่อ แต่ครั้งนั้นยังไม่อนุมัติให้มีการก่อสร้างตัวสถานี เนื่องจากปัญหาการบุกรุกพื้นที่ และความไม่ชัดเจนในการออกแบบตัวสถานี ทำให้มีการโยกงานติดตั้งเสาจ่ายไฟฟ้าและสายส่งไฟฟ้า (OCS) ทั้งหมดไปรวมกับสายสีแดงเข้ม เพื่อเปลี่ยนระบบเป็นระบบไฟฟ้าในคราวเดียว จึงทำให้โครงการถูกทิ้งร้าง ไม่ได้มีการใช้งานตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา

ในปี พ.ศ. 2553 ในสมัยรัฐบาล อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้อนุมัติโครงการสถานีกลางบางซื่อ โดยถูกเสนอเข้าเป็นส่วนหนึ่งของโครงการรถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดง ซึ่งเดิมกำหนดให้มีโครงสร้างสถานีจำนวน 2 ชั้น ได้แก่ชั้นที่ 1 เป็นชั้นชานชาลาสำหรับรถไฟทางไกล ชั้นที่ 2 เป็นชั้นชานชาลาสำหรับรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง และรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Airport Rail Link)ส่วนต่อขยาย (ช่วงพญาไท-บางซื่อ) แต่ในปีเดียวกันเกิดการยุบสภา โครงการจึงหยุดชะงักลง

ต่อมาในสมัยรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ได้เริ่มการก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม ช่วงบางซื่อ-รังสิต และสถานีกลางบางซื่อ โดยเริ่มการก่อสร้างสถานีกลางบางซื่อในวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2556 โดยมีกำหนดแล้วเสร็จวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 โดยหลังจากการก่อสร้างได้ไม่นาน ชัชชาติ สิทธิพันธุ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ได้ปรับแบบสถานีกลางบางซื่อโดยปรับแบบความยาวชานชาลาเดิมจาก 250 เมตรเป็น 400 เมตร และเพิ่มชั้นที่ 3 เพื่อรองรับโครงการรถไฟความเร็วสูงและรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Airport Rail Link)ส่วนต่อขยาย(ช่วงพญาไท-บางซื่อ-ดอนเมือง) ตามนโยบายประเทศไทย 2020 และงบประมาณสองล้านล้านบาท [3] รวมถึงปรับแบบทางวิ่งรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม ช่วงบางซื่อ-รังสิต จาก 3 รางเป็น 4 ราง เพื่อให้รถไฟทางไกลสามารถวิ่งสวนกันได้โดยไม่ต้องจอดรอหลีก แต่หลังจากนั้นไม่นานได้เกิดวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 การก่อสร้างจึงล่าช้าลงอีกครั้ง

ในปี พ.ศ. 2557 รัฐบาล คสช. และ กระทรวงคมนาคม ได้ดำเนินโครงการต่อ โดยอนุมัติให้เพิ่มวงเงินงบประมาณค่าก่อสร้าง เพื่อทำการปรับแบบสถานีกลางบางซื่ออีกครั้ง [4]คือ ชั้นใต้ดิน พื้นที่ 72,542 ตร.ม. เป็นที่จอดรถยนต์ประมาณ 1,100 คัน และทางเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล (MRT สายสีน้ำเงิน) ชั้นที่ 1 พื้นที่ 98,720 ตร.ม. เป็นพื้นที่สำหรับห้องจำหน่ายตั๋วโดยสาร จุดรอการโดยสารและร้านค้า ชั้นที่ 2 พื้นที่ 50,800 ตร.ม. เป็นชั้นชานชาลาสำหรับรถไฟที่ใช้รางขนาด 1.000 เมตร ประกอบด้วยรถไฟทางไกล 8 ชานชาลา และ รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง 4 ชานชาลา และชั้นที่ 3 พื้นที่ 42,300 ตร.ม.เป็นชั้นชานชาลาสำหรับรถไฟที่ใช้รางขนาด 1.435 เมตร ประกอบด้วย รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน จำนวน 2 ชานชาลา รถไฟความเร็วสูงไทย-จีน (สายอีสาน) จำนวน 4 ชานชาลา รถไฟความเร็วสูงสายเหนือ จำนวน 2 ชานชาลา และรถไฟความเร็วสูงสายใต้ จำนวน 4 ชานชาลา รวมทั้งสิ้น 12 ชานชาลา

ในปี พ.ศ. 2563 กรมการขนส่งทางบกได้พิจารณาเส้นทางการเดินรถโดยสารประจำทางเพื่อเชื่อมต่อสถานีกลางบางซื่อกับสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) และสถานีหมอชิต ของรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท โดยเปิดเป็นสัมปทานการเดินรถในรูปแบบรถโดยสารไฟฟ้า โดยอาจจะนำรูปแบบของรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษมาใช้[5]

รูปแบบสถานี

สถานีกลางบางซื่อ ออกแบบให้เป็นอาคารผู้โดยสารขนาดใหญ่ ความสูง 4 ชั้น พื้นที่รวม 274,192 ตารางเมตร มีชานชาลาทั้งหมด 12 เกาะ 24 ชานชาลา ความยาว 596.6 เมตร รองรับขบวนรถไฟและรถไฟฟ้าได้พร้อมกันถึง 26-40 ขบวนในคราวเดียว ตัวอาคารแบ่งพื้นที่ออกเป็นสองส่วนหลัก ๆ ได้แก่ส่วนบริการผู้โดยสารซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกของสถานี ส่วนบริการรถไฟซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกของสถานี

ส่วนบริการผู้โดยสารจะมีพื้นที่ทั้งหมด 4 ชั้น ประกอบด้วย ชั้นใต้ดิน เป็นลานจอดรถ 1,100 คัน รองรับการจอดรถทั้งระยะสั้นและระยะยาว ชั้น 1 เป็นโถงต้อนรับผู้โดยสารทั้งขาขึ้นและขาล่อง ในชั้นนี้ยังมีจุดจำหน่ายบัตรโดยสารของขบวนรถทางไกลให้บริการ และยังมีศูนย์อาหารพื้นที่ 7,740 ตารางเมตร และร้านค้าให้บริการ ชั้น 2 เป็นพื้นที่ร้านค้า และจุดบริการผู้โดยสาร โดยมีทางเชื่อมระหว่างอาคารโถงหลัก กับอาคารโถงรองให้สามารถเดินข้ามฝั่งกันได้ และชั้น 3 เป็นพื้นที่รองรับแขกวีไอพี และยังเป็นสำนักงานให้เช่าของผู้ให้บริการรถไฟฟ้าความเร็วสูง รวมถึงเป็นสำนักงานและศูนย์ควบคุมการเดินรถของสายสีแดง สำนักงานย่อยของการรถไฟแห่งประเทศไทย และสำนักงานของผู้ดูแลและบริหารสถานี

ส่วนบริการรถไฟจะมีพื้นที่ทั้งหมด 4 ชั้นเช่นกัน ประกอบไปด้วยชั้นใต้ดิน เป็นพื้นที่เชื่อมต่อกับสถานีบางซื่อ ของรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน ชั้น 1 เป็นพื้นที่จำหน่ายบัตรโดยสารและพื้นที่ตรวจบัตรโดยสารของรถไฟฟ้าสายสีแดง รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ และรถไฟฟ้าความเร็วสูง รวมถึงยังเป็นโถงพักคอยของผู้โดยสารทุกระบบ และมีจุดจำหน่ายบัตรโดยสารของขบวนรถทางไกลให้บริการ ชั้น 2 เป็นชั้นชานชาลาของรถไฟทางกว้าง 1 เมตร ประกอบไปด้วยชานชาลาของรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง 2 เกาะ 4 ชานชาลา ซึ่งแยกทางขึ้นต่างหากจากรถไฟทางไกล และชานชาลาของขบวนรถไฟทางไกล 4 เกาะ 8 ชานชาลา ซึ่งสามารถขึ้นได้จากบริเวณโถงพักคอยผู้โดยสารรถทางไกล ที่อยู่ทางทิศเหนือของสถานี ชั้น 3 เป็นชั้นชานชาลาของรถไฟทางกว้าง 1.435 เมตร ประกอบไปด้วยชานชาลาของรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ และรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน 1 เกาะ 2 ชานชาลา ที่จะแยกโซนขาดจากกัน ชานชาลาของรถไฟความเร็วสูงสายอีสาน 2 เกาะ 4 ชานชาลา รถไฟความเร็วสูงสายเหนือ 1 เกาะ 2 ชานชาลา และรถไฟความเร็วสูงสายใต้ 2 เกาะ 4 ชานชาลา ซึ่งทุกชานชาลายกเว้นชานชาลาของรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ สามารถเดินเชื่อมถึงกันได้จากทางเชื่อมบริเวณทิศใต้ของสถานี

แต่ด้วยกายภาพของสถานีที่มีระบบปรับอากาศเพียงแค่ชั้น 1 ชั้นเดียว การปล่อยผู้โดยสารขึ้นชานชาลา จะใช้วิธีการให้ขบวนรถเทียบชานชาลาแล้วปล่อยผู้โดยสารขาเข้าลงให้เรียบร้อยก่อน จากนั้นถึงเรียกผู้โดยสารขาออกจากชั้น 1 ขึ้นสู่ชานชาลาที่กำหนด เมื่อผู้โดยสารขึ้นหมดแล้ว จะปล่อยขบวนรถออกจากสถานีทันทีโดยไม่มีการจอดพักคอยผู้โดยสารเพิ่มเติม โดยที่วิธีการดังกล่าว จะถูกใช้สำหรับรถไฟทางไกล และรถไฟความเร็วสูงทั้งหมด ยกเว้นรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง ที่อนุญาตให้ผู้โดยสารขึ้นไปรอขบวนรถที่ชานชาลา เนื่องจากเป็นระบบเดียวที่มีความถี่การเดินรถสูง

นอกจากนี้ ร.ฟ.ท. จะปรับปรุงสถานีชุมทางบางซื่อเดิมไว้ให้บริการเป็นชานชาลาที่ 25-28 ของสถานีกลางบางซื่อ โดยชานชาลาดังกล่าวมีไว้สำหรับขบวนรถทางไกลแบบดีเซล รถไฟชั้น 3 รวมถึงรถไฟทุกขบวนที่มาจากหรือมุ่งหน้าไปสถานีกรุงเทพ (หัวลำโพง) เนื่องจากขบวนรถดังกล่าวยังไม่ได้รับอนุญาตให้ขึ้นอาคารหลักในช่วงที่สายสีแดงเปิดทำการ เพราะต้องรอการเปลี่ยนหัวลากให้รองรับระบบไฟฟ้า หรือปรับตู้จ่ายไฟฟ้าให้เป็นแบบใหม่เสียก่อน กระบวนการดังกล่าวจะใช้เวลาไม่เกิน พ.ศ. 2570 ถึงจะสามารถอนุญาตให้รถทุกขบวนขึ้นอาคารหลักได้ทั้งหมด

ชานชาลา

รายชื่อชานชาลาและสายและจุดหมายสำคัญของแต่ละสายของการรถไฟแห่งประเทศไทย

1, 2 แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีหนองคาย, อุบลราชธานี
3, 4 แม่แบบ:BTS Lines ปลายทาง สถานีปากท่อ, สถานีบ้านภาชี
5, 6 แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีเชียงใหม่, สถานีเชียงของ
7, 8 แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีด่านพรมแดนบ้านคลองลึก, สถานีระยอง
9, 10 แม่แบบ:BTS Lines ปลายทาง สถานีนครปฐม, สถานีฉะเชิงเทรา
11, 12 แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีกันตัง, สถานีนครศรีธรรมราช, สถานีปาดังเบซาร์, สถานีสุไหงโก-ลก
13, 14 แม่แบบ:BTS Lines และ แม่แบบ:SARLLine ปลายทาง สุวรรณภูมิ, อู่ตะเภา
15, 16 HSR สายอีสาน (กำลังก่อสร้าง) ปลายทาง นครราชสีมา
17, 18 HSR สายอีสาน (กำลังก่อสร้าง) ปลายทาง นครราชสีมา
19, 20 HSR สายเหนือ (แผนงาน) ปลายทาง เชียงใหม่
21, 22 HSR สายใต้ (แผนงาน) ปลายทาง สุราษฎร์ธานี
23, 24 HSR สายใต้ (แผนงาน) ปลายทาง สุราษฎร์ธานี
25, 26, 27, 28 แม่แบบ:SRT Lines แม่แบบ:SRT Lines แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีหัวลำโพง, สถานีหนองคาย, สถานีอุบลราชธานี, สถานีเชียงใหม่, สถานีปาดังเบซาร์ (ไทย)
(เฉพาะขบวนรถดีเซลและขบวนรถไฟชั้น 3 ที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ขึ้นเทียบชานชาลาในอาคารหลัก)

แผนผังสถานี

ชั้นสาม ชานชาลา 24 HSR ใต้ ปลายทาง สุราษฎร์ธานี
ชานชาลาเกาะกลาง
ชานชาลา 23 HSR ใต้ ปลายทาง สถานีสุราษฎร์ธานี
ชานชาลา 22 HSR ใต้ ปลายทาง สุราษฎร์ธานี
ชานชาลาเกาะกลาง
ชานชาลา 21 HSR ใต้ ปลายทาง สถานีสุราษฎร์ธานี
ชานชาลา 20 HSR เหนือ ปลายทาง สถานีเชียงใหม่
ชานชาลาเกาะกลาง
ชานชาลา 19 HSR เหนือ ปลายทาง สถานีเชียงใหม่
ชานชาลา 18 HSR ตะวันออกเฉียงเหนือ (กำลังก่อสร้าง) ปลายทาง สถานีนครราชสีมา
ชานชาลาเกาะกลาง
ชานชาลา 17 HSR ตะวันออกเฉียงเหนือ (กำลังก่อสร้าง) ปลายทาง สถานีนครราชสีมา
ชานชาลา 16 HSR ตะวันออกเฉียงเหนือ (กำลังก่อสร้าง) ปลายทาง สถานีนครราชสีมา
ชานชาลาเกาะกลาง
ชานชาลา 15 HSR ตะวันออกเฉียงเหนือ (กำลังก่อสร้าง) ปลายทาง สถานีนครราชสีมา
ชานชาลา 14 แม่แบบ:BTS Lines และ แม่แบบ:SARLLine ปลายทาง สถานีดอนเมือง
ชานชาลาเกาะกลาง
ชานชาลา 13 แม่แบบ:BTS Lines ปลายทาง สถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
แม่แบบ:SARLLine ปลายทาง สถานีท่าอากาศยานอู่ตะเภา
ชั้นสอง ชานชาลา 12 แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีเชียงใหม่, สถานีเชียงของ(อนาคต)

แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีหนองคาย, อุบลราชธานี

ชานชาลาเกาะกลาง
ชานชาลา 11 แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีเชียงใหม่, สถานีเชียงของ(อนาคต)

แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีหนองคาย, อุบลราชธานี

ชานชาลา 10 แม่แบบ:BTS Lines ปลายทาง สถานีบ้านภาชี
ชานชาลาเกาะกลาง
ทางลงเชื่อม แม่แบบ:BTS Lines
ชานชาลา 9 แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีปากท่อ
ชานชาลา 8 แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีเชียงใหม่, สถานีเชียงของ(อนาคต)

แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีหนองคาย, อุบลราชธานี

ชานชาลาเกาะกลาง
ชานชาลา 7 แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีเชียงใหม่, สถานีเชียงของ(อนาคต)

แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีหนองคาย, อุบลราชธานี

ชานชาลา 6 แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีกันตัง, สถานีนครศรีธรรมราช, สถานีปาดังเบซาร์, สถานีสุไหงโกลก

แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีด่านพรมแดนบ้านคลองลึก, สถานีระยอง

ชานชาลาเกาะกลาง
ชานชาลา 5 แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีกันตัง, สถานีนครศรีธรรมราช, สถานีปาดังเบซาร์, สถานีสุไหงโกลก

แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีด่านพรมแดนบ้านคลองลึก, สถานีระยอง

ชานชาลา 4 แม่แบบ:BTS Lines ปลายทาง สถานีนครปฐม
ชานชาลาเกาะกลาง
ทางลงเชื่อม แม่แบบ:BTS Lines
ชานชาลา 3 แม่แบบ:BTS Lines ปลายทาง สถานีฉะเชิงเทรา
ชานชาลา 2 แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีกันตัง, สถานีนครศรีธรรมราช, สถานีปาดังเบซาร์, สถานีสุไหงโกลก

แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีด่านพรมแดนบ้านคลองลึก, สถานีระยอง

ชานชาลาเกาะกลาง
ชานชาลา 1 แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีกันตัง, สถานีนครศรีธรรมราช, สถานีปาดังเบซาร์, สถานีสุไหงโกลก

แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีด่านพรมแดนบ้านคลองลึก, สถานีระยอง

ชั้นโถงผู้โดยสาร ชั้นขายบัตรโดยสาร โถงพักคอยและรับผู้โดยสาร, ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร , ร้านค้า
รถโดยสารประจำทาง, รถประจำทางด่วนพิเศษเชื่อมต่อสถานีหมอชิต
ทางออก E1-E4 (ฝั่งทางพิเศษศรีรัช), ทางออก W1-W4 และทางไปชานชาลา 25-28 (ฝั่งสถานีชุมทางบางซื่อเดิม)
G
ระดับถนน
- ป้ายรถประจำทาง, สถานีบางซื่อ ทางออก 1-2
G
ชานชาลารถไฟทางไกล
สายใต้
สายเหนือ
สายตะวันออกเฉียงเหนือ
ชานชาลา 28 แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีกันตัง, สถานีนครศรีธรรมราช, สถานีปาดังเบซาร์, สถานีสุไหงโกลก
ชานชาลาเกาะกลาง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย/ขวา
ชานชาลา 27 แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีกรุงเทพ
ชานชาลา 26, 26 แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีเชียงใหม่, สถานีเชียงของ(อนาคต)
แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีหนองคาย, สถานีอุบลราชธานี
ชานชาลาเกาะกลาง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย/ขวา
ชานชาลา 25, 25 แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีกรุงเทพ
แม่แบบ:SRT Lines ปลายทาง สถานีกรุงเทพ
G
ระดับถนน
- ย่านสับเปลี่ยน, โรงรถจักร, โครงการสถานีกลางบางซื่อ
ชั้นใต้ดิน B1 ลานจอดรถใต้ดิน ที่จอดรถชั้นใต้ดิน 1,100 คัน
ชั้นใต้ดิน B2 ชั้นขายบัตรโดยสาร ทางออก 3, ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร
ชั้นใต้ดิน B3
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
ชานชาลา 2 แม่แบบ:BTS Lines มุ่งหน้า สถานีท่าพระ
ชานชาลา 1 แม่แบบ:BTS Lines มุ่งหน้า สถานีหลักสอง
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย

สถานีใกล้เคียง

สถานีก่อนหน้า เส้นทางรถไฟ สถานีต่อไป
สถานีปลายทาง   HSR สายใต้   สถานีนครปฐม
มุ่งหน้า สถานีสุราษฎร์ธานี
สถานีปลายทาง   HSR สายเหนือ   สถานีดอนเมือง
มุ่งหน้า สถานีเชียงใหม่
สถานีปลายทาง   HSR สายอีสาน   สถานีดอนเมือง
มุ่งหน้า สถานีนครราชสีมา
สถานีพญาไท
มุ่งหน้า สถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   แม่แบบ:BTS Lines style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   สถานีดอนเมือง
สถานีปลายทาง
สถานีมักกะสัน
มุ่งหน้า สถานีท่าอากาศยานอู่ตะเภา
style="background:#แม่แบบ:SARLColor; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   แม่แบบ:SARLLine style="background:#แม่แบบ:SARLColor; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   สถานีดอนเมือง
สถานีปลายทาง
สถานีก่อนหน้า เส้นทางรถไฟ สถานีต่อไป
สถานีปลายทาง style="background:#แม่แบบ:SRT color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   แม่แบบ:SRT Lines style="background:#แม่แบบ:SRT color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   สถานีดอนเมือง
มุ่งหน้า สถานีหนองคาย
มุ่งหน้า สถานีอุบลราชธานี
สถานีสามเสน
มุ่งหน้า สถานีปากท่อ
style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   แม่แบบ:BTS Lines style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   สถานีจตุจักร
มุ่งหน้า สถานีบ้านภาชี
สถานีปลายทาง style="background:#แม่แบบ:SRT color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   แม่แบบ:SRT Lines style="background:#แม่แบบ:SRT color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   สถานีดอนเมือง
มุ่งหน้า สถานีเชียงใหม่
สถานีปลายทาง style="background:#แม่แบบ:SRT color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   แม่แบบ:SRT Lines style="background:#แม่แบบ:SRT color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   สถานีบางซ่อน
มุ่งหน้า สถานีสุราษฎร์ธานี
มุ่งหน้า สถานีชุมทางหาดใหญ่
มุ่งหน้า สถานีปาดังเบซาร์
มุ่งหน้า สถานีสุไหงโกลก
สถานีแยกราชวิถี
มุ่งหน้า สถานีฉะเชิงเทรา
style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   แม่แบบ:BTS Lines style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   สถานีบางซ่อน
มุ่งหน้า สถานีนครปฐม
สถานีอุรุพงษ์
มุ่งหน้า สถานีด่านพรมแดนบ้านคลองลึก
มุ่งหน้า สถานีบ้านพลูตาหลวง
style="background:#แม่แบบ:SRT color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   แม่แบบ:SRT Lines style="background:#แม่แบบ:SRT color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   สถานีปลายทาง
สถานีก่อนหน้า เส้นทางรถไฟ สถานีต่อไป
สถานีเตาปูน
มุ่งหน้า สถานีท่าพระ
style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   แม่แบบ:BTS Lines style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   สถานีกำแพงเพชร
มุ่งหน้า สถานีหลักสอง

อ้างอิง