ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รายชื่อประเทศตามระบอบการปกครอง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Sirakorn (คุย | ส่วนร่วม)
เอาการปกครองนิตินัย / ย้อนการแก้ไขที่ 9113366 สร้างโดย 171.99.153.82 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 265: บรรทัด 265:


{{flag|North Korea}}
{{flag|North Korea}}
{{flag|Thailand}}


=== รัฐพรรคการเมืองเดียว ===
=== รัฐพรรคการเมืองเดียว ===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:28, 26 ตุลาคม 2563

รายชื่อประเทศตามระบอบการปกครอง รวบรวมและแบ่งแยกประเทศตามระบอบการดำเนินงานของรัฐบาล โดยประเทศนั้นหมายถึงรัฐปกครองตนเองที่มีเอกราชเป็นของตนเอง และมีรัฐบาลปกครองประชากรจำนวนหนึ่งซึ่งอาศัยอยู่ในประเทศ

แผนที่

แผนที่ระบอบการปกครอง
แผนที่ระบอบการปกครอง
คำอธิบายสัญลักษณ์

หมายเหตุว่าแผนภาพนี้มุ่งแสดงระบอบการปกครองโดยนิตินัย ไม่ได้แสดงระดับประชาธิปไตยโดยพฤตินัย หลายรัฐซึ่งรัฐธรรมนูญบัญญัติว่าเป็นสาธารณรัฐหลายพรรคการเมืองอาจยังอธิบายอย่างกว้าง ๆ เป็นรัฐอำนาจนิยมก็ได้

ระบบวิธีการปกครอง

สาธารณรัฐ

สาธารณรัฐแบบรัฐสภา

นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหาร รัฐสภา (ฝ่ายนิติบัญญัติ) กับคณะรัฐมนตรี (ฝ่ายบริหาร) จะมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด

สาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีเต็ม

สาธารณรัฐแบบประธานาธิบดี

ในการปกครองระบอบประชาธิไตยแบบนี้ ฝ่ายนิติบัญญัติ (รัฐสภา) ฝ่ายบริหาร (ประธานาธิบดี) และฝ่ายตุลาการ (ศาล) แยกอำนาจออกจากกัน

สาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีโดยมีนายกรัฐมนตรี

สาธารณรัฐแบบกึ่งประธานาธิบดี

ระบอบกึ่งประธานาธิบดีมีทั้งประธานาธิบดีและนายกรัฐมนตรี ประธานาธิบดีมีอำนาจบริหารและเป็นประมุขของประเทศ รวมทั้งสามารถแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีได้

ระบบประธานาธิบดี-รัฐสภา
ระบบนายกรัฐมนตรี-ประธานาธิบดี

สมบูรณาญาสิทธิราชย์

ในระบอบนี้ พระมหากษัตริย์มีพระราชอำนาจสมบูรณ์และทรงสืบทอดอำนาจผ่านทางราชวงศ์

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ

เทวาธิปไตย

เผด็จการทหาร

กลุ่มผู้ปกครองในระบอบนี้จะปกครองประเทศเพื่อผลประโยชน์ของกลุ่มตน โดยผู้ปกครองจะเป็นทหารเท่านั้น

 เกาหลีเหนือ

รัฐพรรคการเมืองเดียว

คณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง

กำลังเปลี่ยนผ่าน

ประเทศเหล่านี้กำลังอยู่ระหว่างการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง และยังไม่สามารถถูกจำแนกอย่างชัดเจนได้

  •  เอริเทรีย (กำลังมุ่งหน้าสู่ประชาธิปไตยระบอบประธานาธิบดี)

ระบบวิธีการปกครองภายใน

อ้างอิง

  1. Iran combines the forms of a presidential republic, with a president elected by universal suffrage, and a theocracy, with a Supreme Leader who is ultimately responsible for state policy, chosen by the elected Assembly of Experts. Candidates for both the Assembly of Experts and the presidency are vetted by the appointed Guardian Council.
  2. "Nazarbaev Signs Kazakh Constitutional Amendments Into Law". Radio Free Europe/Radio Liberty. 10 March 2017. สืบค้นเมื่อ 10 March 2017. For more information: please see Abdurasulov, Abdujalil (6 March 2017). "Kazakhstan constitution: Will changes bring democracy?". BBC News. สืบค้นเมื่อ 7 March 2017.

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น