ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอทานอล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wworrasing (คุย | ส่วนร่วม)
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 9099762 สร้างโดย Wworrasing (พูดคุย)
บรรทัด 52: บรรทัด 52:
3. วัตถุดิบประเภทที่เป็นผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมเกษตร เช่น กากอ้อย ฟางข้าวซังข้าวโพด และของเสียจากอุตสาหกรรม เยื่อกระดาษ ฯลฯ
3. วัตถุดิบประเภทที่เป็นผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมเกษตร เช่น กากอ้อย ฟางข้าวซังข้าวโพด และของเสียจากอุตสาหกรรม เยื่อกระดาษ ฯลฯ


เอทานอลมีค่าออกเทนสูงนำไปผสมกับน้ำมันเบนซินเรียกว่าน้ำมันแก๊สโซฮอล์ได้ ถ้าผสมกับน้ำมันดีเซล เรียกว่าน้ำมันดีโซฮอล์ใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ นอกจากนี้ยังสามารถใช้เอทนอล บริสุทธิ์เป็นเชื้อเพลิงได้โดยตรงโดยไม่ต้องผสมกับน้ำมันได้อีกด้วย
เอทานอลมีค่าออกเทนสูงนำไปผสมกับน้ำมันเบนซินเรียกว่าน้ำมันแก๊สโซฮอล์ได้ ถ้าผสมกับน้ำมันดีเซล เรียกว่าน้ำมันดีโซฮอล์ใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ นอกจากนี้ยังสามารถใช้เอทนอล บริสุทธิ์เป็นเชื้อเพลิงได้โดยตรงโดยไม่ต้องผสมกับน้ำมันได้อีกด้วย
 
 
ปัจจุบันไทยมีโรงงานเอทานอล 27 แห่ง กำลังการผลิตรวม 6.125 ล้านลิตร <ref> https://www.dede.go.th/ewt_dl_link.php?nid=329</ref>
ปัจจุบันไทยมีโรงงานเอทานอล 27 แห่ง กำลังการผลิตรวม 6.125 ล้านลิตร <ref> https://www.dede.go.th/ewt_dl_link.php?nid=329</ref>

ปัจจุบันไทยมีโรงงานเอทานอล 27 แห่ง กำลังการผลิตรวม 6.125 ล้านลิตร<ref>https://www.dede.go.th/ewt_dl_link.php?nid=329</ref>


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:32, 22 ตุลาคม 2563

เอทานอล
ชื่อ
IUPAC name
Ethanol
ชื่ออื่น
Ethyl alcohol; grain alcohol; pure alcohol; hydroxyethane; drinking alcohol; ethyl hydrate
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.000.526 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
RTECS number
  • KQ6300000
  • InChI=1/C2H6O/c1-2-3/h3H,2H2,1H3
  • CCO
คุณสมบัติ
C2H6O
มวลโมเลกุล 46.069 g·mol−1
ลักษณะทางกายภาพ ของเหลวใสไม่มีสี
ความหนาแน่น 0.789 g/cm3
จุดหลอมเหลว −114.3 องศาเซลเซียส (−173.7 องศาฟาเรนไฮต์; 158.8 เคลวิน)
จุดเดือด 78.4 องศาเซลเซียส (173.1 องศาฟาเรนไฮต์; 351.5 เคลวิน)
ละลายน้ำได้อย่างดี
pKa 15.9
ความหนืด 1.200 mPa·s (cP) at 20.0 °C
5.64 fC·fm (1.69 D) (gas)
ความอันตราย
NFPA 704 (fire diamond)
NFPA 704 four-colored diamondHealth 0: Exposure under fire conditions would offer no hazard beyond that of ordinary combustible material. E.g. sodium chlorideFlammability 3: Liquids and solids that can be ignited under almost all ambient temperature conditions. Flash point between 23 and 38 °C (73 and 100 °F). E.g. gasolineInstability 0: Normally stable, even under fire exposure conditions, and is not reactive with water. E.g. liquid nitrogenSpecial hazards (white): no code
0
3
0
จุดวาบไฟ 286.15 K (13 °C or 55.4 °F)
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

เอทานอล (อังกฤษ: ethanol) หรือ เอทิลแอลกอฮอล์ (อังกฤษ: ethyl alcohol) (สูตรเคมี C2H5OH) เป็นแอลกอฮอล์ชนิดหนึ่งซึ่งเกิดจากการนำเอาพืชมาหมักเพื่อเปลี่ยนแป้งเป็นน้ำตาล จากนั้นจึงเปลี่ยนจากน้ำตาลเป็นแอลกอฮอล์ โดยใช้เอนไซม์หรือกรดบางชนิดช่วยย่อย เมื่อทำให้เป็นแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ 95% โดยการกลั่น ส่วนใหญ่ผลิตจากพืช สองประเภทคือ พืชประเภทน้ำตาล เช่นอ้อย บีทรูท และพืชจำพวกแป้งเช่น มันสำปะหลัง ข้าว ข้าวโพด เป็นต้น

อุตสาหกรรมเอทานอล

บราซิลเป็นผู้ผลิตเอทานอลอันดับหนึ่งในโลก [1] ข้อมูลปี พ.ศ. 2551 ประเทศไทยมีโรงงานเอทานอล 11 แห่ง กำลังการผลิตรวม 1.75 ล้านลิตรต่อวัน ขณะที่ความต้องการใช้ในประเทศมีเพียง 800,000 ลิตรต่อวัน [2]

เอทานอลเป็นเชื้อเพลิงที่สะอาดและเผาไหม้ได้สมบูรณ์ช่วยลดการเกิดมลพิษในอากาศและเป็นผลดีต่อสภาวะแวดล้อมและมีฐานวัตถุดิบมาจากพืชซึ่งสามารถดูดซับปริมาณ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์ในบรรยากาศได้

เอทานอลเป็นพลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy) ผลิตได้จากวัตถุดิบทางการเกษตรซึ่งแบ่งได้เป็น 3 ประภท[3] 1. วัตถุดิบประเภทน้ำตาล ได้แก่ น้ำอ้อย น้ำตาลจากบีท และกากน้ำตาลซึ่งยีสต์สามารถ ย่อยสลายวัตถุดิบประเภทนี้ได้เลยทันทีโดยไม่ต้องผ่านการย่อยเพื่อเป็นน้ำตาล (Pretreatment) 2. วัตถุดิบประเภทแป้ง ได้แก่ มันสำปะหลัง ธัญพืชและมันฝรั่งในการผลิตจะต้องย่อยแป้งในวัตถุดิบให้เป็นน้ำตาลกลูโคสซึ่งเป็นน้ำตาลโมเลกุลเดียวเสียก่อนยีสต์จึงจะเปลี่ยนน้ำตาลเป็นเอทานอลได้ 3. วัตถุดิบประเภทที่เป็นผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมเกษตร เช่น กากอ้อย ฟางข้าวซังข้าวโพด และของเสียจากอุตสาหกรรม เยื่อกระดาษ ฯลฯ

เอทานอลมีค่าออกเทนสูงนำไปผสมกับน้ำมันเบนซินเรียกว่าน้ำมันแก๊สโซฮอล์ได้ ถ้าผสมกับน้ำมันดีเซล เรียกว่าน้ำมันดีโซฮอล์ใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ นอกจากนี้ยังสามารถใช้เอทนอล บริสุทธิ์เป็นเชื้อเพลิงได้โดยตรงโดยไม่ต้องผสมกับน้ำมันได้อีกด้วย   ปัจจุบันไทยมีโรงงานเอทานอล 27 แห่ง กำลังการผลิตรวม 6.125 ล้านลิตร [4]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง