ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การทำแผนที่"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8630525 โดย KalaiE2950ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
ไร้ประโยชน์

[[ไฟล์:Claudius Ptolemy- The World.jpg|thumb|upright=1.35|ภาพเขียนในยุคกลางของ[[เอคูเมน]] (โดยช่างแกะสลักโยฮันเนส ชนิทเซอร์ ใน ค.ศ. 1482) สร้างขึ้นภายหลังการสร้างพิกัดใน[[จีออกราฟี|หนังสือภูมิศาสตร์]]ของทอเลมีและใช้เส้นโครงแผนที่ชุดที่สอง มีการแปลเป็นภาษาละตินและแสดงถึง''ภูมิศาสตร์''ในยุโรปในช่วงต้นศตวรรษที่ 15 ซึ่งเป็นการจุดเริ่มใหม่ของวิทยาการด้านการทำแผนที่หลังจากซบเซามากว่าพันปี]]

'''การทำแผนที่''' ({{lang-en|cartography}} {{IPA-en|kɑːrtɒgrəfi}} จาก[[ภาษากรีก]] χάρτης ''chartēs'' แปลว่า "พาไพรัส, แผ่นกระดาษ หรือแผนที่"; และ γράφειν ''graphein'' แปลว่า "เขียน") คือการศึกษาและการปฏิบัติเกี่ยวกับการสร้าง[[แผนที่]] โดยเป็นการผสมผสานระหว่าง[[วิทยาศาสตร์]] [[สุนทรียศาสตร์]] และเทคนิค การทำแผนที่อาศัยพื้นฐานของความจริงในการสร้างแบบจำลองด้วยการสื่อความหมายของข้อมูลเชิงพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพ

ปัญหาพื้นฐานของการทำแผนที่แบบดั้งเดิม ประกอบด้วย
* ความเชื่อมั่นเกี่ยวกับการแก้ไขแผนที่จากการออกแบบและสร้างตัวแทนของวัตถุในการทำแผนที่ ตัวแทนอาจเป็นลักษณะทางกายภาพ เช่น ถนนหรือสิ่งปกคลุมดิน หรืออาจเป็นนามธรรม เช่น [[ภูมินามวิทยา]] หรือแนวพรมแดนทางการเมือง
* ความเชื่อมั่นเกี่ยวกับ[[เส้นโครงแผนที่]]ในการแสดงลักษณะภูมิประเทศของวัตถุบนแผนที่ลงบนสื่อที่เป็นแผ่นเรียบ
* ความเชื่อมั่นเกี่ยวกับ[[ลักษณะทั่วไปของการทำแผนที่|ลักษณะทั่วไป]]จากการลบคุณสมบัติของวัตถุที่ไม่เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์บนแผนที่ออก
* ความเชื่อมั่นเกี่ยวกับลักษณะทั่วไปจากการลดความซับซ้อนของวัตถุบนแผนที่
* ความเชื่อมั่นเกี่ยวกับ[[การทำแผนที่#การออกแบบแผนที่|การออกแบบแผนที่]]เกี่ยวกับจัดองค์ประกอบของแผนที่เพื่อถ่ายทอดข้อความให้ผู้ชมได้อย่างดีที่สุด

การทำแผนที่สมัยใหม่ถือเป็นรากฐานทางทฤษฎีและการปฏิบัติจำนวนมากของ[[ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์]]


== การออกแบบแผนที่ ==
== การออกแบบแผนที่ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:02, 19 ตุลาคม 2563

ภาพเขียนในยุคกลางของเอคูเมน (โดยช่างแกะสลักโยฮันเนส ชนิทเซอร์ ใน ค.ศ. 1482) สร้างขึ้นภายหลังการสร้างพิกัดในหนังสือภูมิศาสตร์ของทอเลมีและใช้เส้นโครงแผนที่ชุดที่สอง มีการแปลเป็นภาษาละตินและแสดงถึงภูมิศาสตร์ในยุโรปในช่วงต้นศตวรรษที่ 15 ซึ่งเป็นการจุดเริ่มใหม่ของวิทยาการด้านการทำแผนที่หลังจากซบเซามากว่าพันปี

การทำแผนที่ (อังกฤษ: cartography เสียงอ่านภาษาอังกฤษ: /kɑːrtɒgrəfi/ จากภาษากรีก χάρτης chartēs แปลว่า "พาไพรัส, แผ่นกระดาษ หรือแผนที่"; และ γράφειν graphein แปลว่า "เขียน") คือการศึกษาและการปฏิบัติเกี่ยวกับการสร้างแผนที่ โดยเป็นการผสมผสานระหว่างวิทยาศาสตร์ สุนทรียศาสตร์ และเทคนิค การทำแผนที่อาศัยพื้นฐานของความจริงในการสร้างแบบจำลองด้วยการสื่อความหมายของข้อมูลเชิงพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพ

ปัญหาพื้นฐานของการทำแผนที่แบบดั้งเดิม ประกอบด้วย

  • ความเชื่อมั่นเกี่ยวกับการแก้ไขแผนที่จากการออกแบบและสร้างตัวแทนของวัตถุในการทำแผนที่ ตัวแทนอาจเป็นลักษณะทางกายภาพ เช่น ถนนหรือสิ่งปกคลุมดิน หรืออาจเป็นนามธรรม เช่น ภูมินามวิทยา หรือแนวพรมแดนทางการเมือง
  • ความเชื่อมั่นเกี่ยวกับเส้นโครงแผนที่ในการแสดงลักษณะภูมิประเทศของวัตถุบนแผนที่ลงบนสื่อที่เป็นแผ่นเรียบ
  • ความเชื่อมั่นเกี่ยวกับลักษณะทั่วไปจากการลบคุณสมบัติของวัตถุที่ไม่เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์บนแผนที่ออก
  • ความเชื่อมั่นเกี่ยวกับลักษณะทั่วไปจากการลดความซับซ้อนของวัตถุบนแผนที่
  • ความเชื่อมั่นเกี่ยวกับการออกแบบแผนที่เกี่ยวกับจัดองค์ประกอบของแผนที่เพื่อถ่ายทอดข้อความให้ผู้ชมได้อย่างดีที่สุด

การทำแผนที่สมัยใหม่ถือเป็นรากฐานทางทฤษฎีและการปฏิบัติจำนวนมากของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

การออกแบบแผนที่

การทำแผนที่ซึ่งมีความสำคัญคือเป้าหมายดีสุดแผนที่ที่น่าสนใจจะดึงดูดผู้ใช้และแผนที่ที่มีตัวแปรจะอนุญาตให้ทำการเปรียบเทียบการออกแบบแผนที่ไม่ใช่การศึกษาที่สมบูรณ์แบบการตัดสินใจส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับนักเขียนแผนที่

การลดความซับซ้อนของแผนที่

ข้อมูลที่แสดงบนแผนที่จะต้องเข้ากับเป้าหมายของแผนที่แผนที่ที่ดีจะมีข้อมูลเพียงพอสำหรับผู้ใช้ที่จะใช้แผนที่นั้นตามที่แผนที่ถูกสร้างขึ้นไว้ผู้ทำแผนที่ต้องตัดสินใจว่าจะรวมอะไรบ้างจะยกเว้นอะไรบ้างและสิ่งที่ควรอยู่นอกศูนย์จะอยู่ที่ไหนยิ่งแผนที่เล็กลงยิ่งความสำคัญของการตัดสินใจเกี่ยวกับสิ่งที่จะรวมไว้ในแผนที่จะเพิ่มขึ้น

การถ่ายแผนที่

เพราะโลกมันกลมจึงไม่สามารถแสดงพื้นที่ระยะทางหรือรูปร่างของสถานที่ต่างๆได้อย่างสมบูรณ์แบบสถานที่จะถูกบิดเบือนเมื่อแสดงบนระนาบแบน

การติดฉลากกับแผนที่

จำเป็นต้องใช้ฉลากเพื่อช่วยให้ผู้ใช้ตีความแผนที่ฉลากที่ดีอ่านง่ายและอยู่ใกล้กับสิ่งนั้นฉลากที่ดีต้องมีขนาดตัวอักษรและสีที่เหมาะสมเพื่อจะไม่รบกวนฉลากอื่น ๆใช้แบบอักษรที่แตกต่างกันเพื่อเชื่อมโยงกับรายการต่างๆและสีของตัวอักษรที่แตกต่างกันเพื่อเชื่อมโยงสีจุดสังเกตหรือสีชื่อที่มีสีเดียวกัน

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

บรรณานุกรม

  • Ovenden, Mark (2007). Transit Maps of the World. New York, New York: Penguin Books. ISBN 978-0-14-311265-5. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)

ดูเพิ่ม

การสร้างแผนที่
  • MacEachren, A.M. (1994). Some Truth with Maps: A Primer on Symbolization & Design. University Park: The Pennsylvania State University. ISBN 0-89291-214-6.
  • Monmonier, Mark (1993). Mapping It Out. Chicago: University of Chicago Press. ISBN 0-226-53417-0.
  • Kraak, Menno-Jan; Ormeling, Ferjan (2002). Cartography: Visualization of Spatial Data. Prentice Hall. ISBN 0-13-088890-7.
  • Peterson, Michael P. (1995). Interactive and Animated Cartography. Upper Saddle River, New Jersey: Prentice Hall. ISBN 978-0-13-079104-7.
  • Slocum, T. (2003). Thematic Cartography and Geographic Visualization. Upper Saddle River, New Jersey: Prentice Hall. ISBN 0-13-035123-7.
ประวัติ
  • Ralph E Ehrenberg (October 11, 2005). Mapping the World: An Illustrated History of Cartography. National Geographic. p. 256. ISBN 0-7922-6525-4.
  • J. B. Harley and David Woodward (eds) (1987). The History of Cartography Volume 1: Cartography in Prehistoric, Ancient, and Medieval Europe and the Mediterranean. Chicago and London: University of Chicago Press. ISBN 0-226-31633-5. {{cite book}}: |author= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  • J. B. Harley and David Woodward (eds) (1992). The History of Cartography Volume 2, Book 1: Cartography in the Traditional Islamic and South Asian Societies. Chicago and London: University of Chicago Press. ISBN 0-226-31635-1. {{cite book}}: |author= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  • J. B. Harley and David Woodward (eds) (1994). The History of Cartography Volume 2, Book 2: Cartography in the Traditional East and Southeast Asian Societies. Chicago and London: University of Chicago Press. ISBN 0-226-31637-8. {{cite book}}: |author= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  • David Woodward and G. Malcolm Lewis (eds) (1998). The History of Cartography Volume 2, Book 3: Cartography in the Traditional African, American, Arctic, Australian, and Pacific Societies [Full text of the Introduction by David Woodward and G. Malcolm Lewis]. Chicago and London: University of Chicago Press. ISBN 0-226-90728-7. {{cite book}}: |author= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  • David Woodward (ed) (2007). The History of Cartography Volume 3: Cartography in the European Renaissance. Chicago and London: University of Chicago Press. ISBN 0-226-90733-3. {{cite book}}: |author= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  • Mark Monmonier (ed) (2015). The History of Cartography Volume 6: Cartography in the Twentieth Century. Chicago and London: University of Chicago Press. ISBN 9780226534695. {{cite book}}: |author= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  • Matthew Edney and Mary S. Pedley (eds). The History of Cartography Volume 4: Cartography in the European Enlightenment. Chicago and London: University of Chicago Press. ISBN 0-226-31633-5. {{cite book}}: |author= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  • Roger J. P. Kain et al. (eds). The History of Cartography Volume 5: Cartography in the Nineteenth Century. Chicago and London: University of Chicago Press. {{cite book}}: |author= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
ความหมาย
  • Monmonier, Mark (1991). How to Lie with Maps. Chicago: University of Chicago Press. ISBN 0-226-53421-9.
  • Wood, Denis (1992). The Power of Maps. New York/London: The Guilford Press. ISBN 978-0-89862-493-9.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • International Cartographic Association (ICA) องค์กรระดับโลกสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านการทำแผนที่และวิทยาการจีไอเอส
  • Cartography and Geographic Information Society (CaGIS), USA สมาคมสนับสนุนการวิจัย การศึกษา และการปฏิบัติเพื่อส่งเสริมความเข้าใจ การสร้าง การวิเคราะห์ และการใช้แผนที่และสารสนเทศภูมิศาสตร์ สมาคมทำหน้าที่เป็นที่ผู้จัดประชุมสำหรับการแลกเปลี่ยนแนวคิดดั้งเดิม เทคนิค วิธีการ ประสบการณ์จากผู้ออกแบบ รวมถึงการใช้งานจากการทำแผนที่ ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ และเทคโนโลยีเชิงพื้นที่ที่เกี่ยวข้อง
  • Society of Cartographers สนับสนุนนักทำแผนที่ฝึกหัด รวมถึงส่งเสริมและบำรุงรักษามาตรฐานของการทำภาพประกอบแผนที่
  • North American Cartographic Information Society (NACIS) สมาคมการทำแผนที่ในอเมริกาเหนือที่มุ่งเน้นปรับปรุงการสื่อสาร การประสานงาน และความร่วมมือระหว่างผู้ผลิต ผู้เผยแพร่ ภัณฑารักษ์ และผู้ใช้ข้อมูลการทำแผนที่ มีสมาชิกอยู่ทั่วโลกและจัดการประชุมเป็นประจำทุกปี
  • Mapping History แหล่งเรียนรู้จากหอสมุดบริติช
  • Geography and Maps, an Illustrated Guide โดยเจ้าหน้าที่ของหอสมุดรัฐสภาสหรัฐ
  • Antique Maps โดยคาร์ล มอร์แลนด์ และเดวิด แบนนิสเตอร์ เป็นหนังสือเนื้อหาเต็ม พร้อมข้อมูลเกี่ยวกับการทำแผนที่และผู้ทำแผนที่ รวมถึงชีวประวัติย่อของผู้ทำแผนที่หลายคน
  • Concise Bibliography of the History of Cartography หอสมุดนิวเบอรี
  • cartographers on the net เอสวีจี (SVG) ภาพกราฟิกส์เวกเตอร์ปรับขนาดได้ ประกอบด้วย การสอน ตัวอย่าง วิจิท (widget) และรายการหนังสือ
  • ดู แผนที่: แหล่งข้อมูลอื่นสำหรับลิงก์อื่นด้านแผนที่เชิงประวัติศาสตร์และสมัยใหม่
  • Persuasive Cartography, The PJ Mode Collection, หอสมุดมหาวิทยาลัยคอร์เนล