ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คนึง ฦาไชย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
| footnotes =
| footnotes =
}}
}}
'''ศาสตราจารย์พิเศษ<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2522/D/133/4.PDF</ref> คนึง ฦาไชย''' เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย รองปลัดกระทรวงมหาดไทย กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ [[มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์​วิโรฒประสานมิตร]]​
'''ศาสตราจารย์พิเศษ<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2522/D/133/4.PDF</ref> คนึง ฦาไชย''' เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย รองปลัดกระทรวงมหาดไทย กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ [[มหาวิทยาลัยศรีนครินท​รวิโรฒ]]​


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:37, 13 ตุลาคม 2563

คนึง ฦาไชย
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
ดำรงตำแหน่ง
8 ตุลาคม พ.ศ. 2519 – 19 ตุลาคม พ.ศ. 2520
นายกรัฐมนตรีธานินทร์ กรัยวิเชียร
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด13 มกราคม พ.ศ. 2467 (100 ปี)
จังหวัดอุตรดิตถ์
คู่สมรสสมบูรณ์ ฦาไชย

ศาสตราจารย์พิเศษ[1] คนึง ฦาไชย เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย รองปลัดกระทรวงมหาดไทย กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยศรีนครินท​รวิโรฒ

ประวัติ

คนึง ฦาไชย เกิดเมื่อวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2467 ที่อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ จบการศึกษาปริญญาตรีธรรมศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง เมื่อปี พ.ศ. 2489[2] และปริญญาด้านกฎหมาย จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์[3]

การทำงาน

คนึง ฦาไชย ทำงานเป็นอัยการในกรมอัยการ กระทรวงมหาดไทย (ในขณะนั้น) ต่อมา ใน พ.ศ. 2516 ย้ายจากกรมอัยการเข้าทำงานในสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ในระหว่างปี พ.ศ. 2515 จนถึง พ.ศ. 2516 ยังทำหน้าที่ของสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ[4] ต่อมาในปี พ.ศ. 2519 เมื่อ ธานินทร์ กรัยวิเชียร ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เขาจึงได้รับเชิญให้มาทำงานในตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย[5] จึงต้องลาออกจากราชการซึ่งในขณะนั้นกำลังดำรงตำแหน่งรองปลัดกระทรวงมหาดไทย

นอกจากนั้นเขายังทำหน้าที่สอนหนังสือในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา กระทั่งในปี พ.ศ. 2535 เขาจึงได้รับปริญญานิติศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย[2]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง