ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พญานาค"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mercurius Caduceus (คุย | ส่วนร่วม)
ข้อมูลเพิ่มเติม
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น การแก้ไขแบบเห็นภาพ
ลบข้อมูลไม่มีอ้างอิง/คัดลอก
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
}}
}}
'''พญานาค''' หรือ '''นาคราช''' ({{lang-sa|नागराज}} ''นาคราช'') หมายถึง [[นาค]]ผู้เป็นใหญ่ นาคผู้เป็นหัวหน้า<ref>{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = [[ราชบัณฑิตยสถาน]]|ชื่อหนังสือ = พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 | URL = http://www.royin.go.th/dictionary/| จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = ราชบัณฑิตยสถาน|ปี = 2556|ISBN = 978-616-7073-80-4|จำนวนหน้า = 1,544|หน้า =}}</ref> ตามความเชื่อใน[[ศาสนาแบบอินเดีย]] คล้ายกับ[[พญามังกร]] ({{lang-zh|龍王}} ''หลงหวัง'') ตามคติ[[ศาสนาพื้นบ้านจีน]]
'''พญานาค''' หรือ '''นาคราช''' ({{lang-sa|नागराज}} ''นาคราช'') หมายถึง [[นาค]]ผู้เป็นใหญ่ นาคผู้เป็นหัวหน้า<ref>{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = [[ราชบัณฑิตยสถาน]]|ชื่อหนังสือ = พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 | URL = http://www.royin.go.th/dictionary/| จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = ราชบัณฑิตยสถาน|ปี = 2556|ISBN = 978-616-7073-80-4|จำนวนหน้า = 1,544|หน้า =}}</ref> ตามความเชื่อใน[[ศาสนาแบบอินเดีย]] คล้ายกับ[[พญามังกร]] ({{lang-zh|龍王}} ''หลงหวัง'') ตามคติ[[ศาสนาพื้นบ้านจีน]]

พญานาคนั้นเป็นสัตว์กึ่งเทพ จัดอยู่ในตระกูลเดียวกันกับงู แต่มีลักษณะใหญ่โตมาก มีหงอน มีเกล็ดสีดำมะเมื่อม มีทั้งที่นิสัยดีและค่อนข้างดุร้าย สามารถอยู่ใต้บาดาล และขึ้นมาอยู่บนโลกมนุษย์ก็ได้เช่นกัน แม้ว่าจะมีผู้พรรณนาลักษณะของพญานาคไว้มากมาย แต่ก็ยังไม่มีผู้ใดเคยเห็นตัวจริงของพญานาคด้วยตาของตนเอง จะมีปรากฏก็เพียงในนิมิต หรือในความฝันเท่านั้น โดยไม่ใช่ทุกคนที่สามารถนิมิตเห็นพญานาคได้ หากมิใช่พระเกจิอาจารย์หรือผู้ที่มีบุญกรรมต่อกันแล้ว ก็ยากยิ่งที่จะสามารถพบเห็นได้ทั่วไป เนื่องจากพญานาคเป็นสัตว์ที่มีกายทิพย์ และมีที่อยู่อาศัยเป็นทิพย์นั่นเอง พญานาคนั้นนอกจากมีฤทธานุภาพมาก สามารถจำแลงแปลงกายเป็นอะไรก็ได้ ยังมีพิษที่มีอานุภาพรุนแรงเหลือคณา เชื่อว่าพญานาคนั้นมีพิษมากถึง 64 ชนิด ต้องมีการคายพิษไว้ในที่เร้นลับทุก 15 วัน เนื่องจากหากไม่คายก็จะมีพิษอยู่ในร่างกายมากเกินไป อาจทำให้พิษย้อนเข้าตัวได้ และเมื่อเลื้อยไปที่ใด ต้องอ้าปากไว้เสมอ เนื่องจากพิษในกายที่มีความรุนแรงและร้อนระอุ การอ้าปากทำให้บรรเทาความร้อนจากพิษในกายได้ ดังนั้นจึงจะเห็นได้ว่ารูปปั้นพญานาคส่วนใหญ่จึงอยู่ในลักษณะอ้าปากนั่นเอง

พญานาคนั้นเมื่อสิ้นอายุขัยก็จะกลับคืนสู่ร่างเดิม โดยขดตัวเป็นบัลลังก์ เรียกว่า “นาคบัลลังก์” หรือนอนราบเหยียดยาว และจากนั้นสภาพร่างกายก็จะกลับกายเป็นหิน ไม่ได้ย่อยสลายเหมือนซากพืชซากสัตว์ทั่วไป และมักจะพบร่างกายของพญานาคอยู่ในถ้ำลึก หรืออยู่ใต้แม่น้ำใหญ่ แต่หากเป็นพญานาคในตระกูลสูง ที่มีญาณบารมีแก่กล้า เมื่อสิ้นอายุขัย ร่างกายก็จะแตกดับและสลายไปในทันที

ตามที่มีการบันทึกไว้ในพระไตรปิฎก ซึ่งเป็นคัมภีร์สำคัญที่สุดของพระพุทธศาสนานั้น เชื่อว่าพญานาคปกครองด้วยท้าววิรูปักข์ หนึ่งในท้าวจตุโลกบาลทั้ง 4 ซึ่งเป็นใหญ่ในสวรรค์ชั้นจตุมหาราชิกา และจากนิทานปรัมปราหรือเรื่องเล่าต่างๆที่มีการบันทึกไว้ กล่าวว่าพญานาคนั้นสามารถจัดเป็นตระกูลได้ 4 ตระกูลใหญ่ๆ ซึ่งมีอำนาจ ฤทธานุภาพ และถิ่นที่อยู่แตกต่างกัน รวมถึงจำนวนพญานาคในแต่ละตระกูลก็ยังมีมากน้อยต่างกันอีกด้วย [https://amatatum.com/%E0%B8%9E%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A-4-%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B9%E0%B8%A5/][https://www.trueplookpanya.com/dhamma/content/69711/-dhart-]


== ศาสนาพุทธ ==
== ศาสนาพุทธ ==
บรรทัด 39: บรรทัด 33:
* '''วาสุกี''' หรือ '''วาสุกรี''' เป็นบุตรคนรองผู้รับใช้[[พระศิวะ]] ให้ทรงใช้เป็นสังวาลย์ห้อยพระศอ และเสียสละร่างกายเป็นเชือกกวนเกษียรสมุทรแก่เหล่าเทพและอสูร
* '''วาสุกี''' หรือ '''วาสุกรี''' เป็นบุตรคนรองผู้รับใช้[[พระศิวะ]] ให้ทรงใช้เป็นสังวาลย์ห้อยพระศอ และเสียสละร่างกายเป็นเชือกกวนเกษียรสมุทรแก่เหล่าเทพและอสูร
* '''ตักษกะ''' เป็นศัตรูของพระ[[อรชุน]] ต่อมาพ่ายแพ้จึงถูกเนรเทศไปอยู่[[ตักศิลา]]
* '''ตักษกะ''' เป็นศัตรูของพระ[[อรชุน]] ต่อมาพ่ายแพ้จึงถูกเนรเทศไปอยู่[[ตักศิลา]]

== พญานาคแบ่งตามชาติกำเนิด 4 ตระกูล ==
พญานาคเกิดได้ทั้ง 4 แบบ คือ '''แบบโอปปาติกะ'''เกิดแล้วโตทันที แบบ'''สังเสทชะ''' เกิดจากเหงื่อไคล สิ่งหมักหมม แบบ'''ชลาพุชะ'''เกิดจากครรภ์ แบบ'''อัณฑชะ'''เกิดจากฟองไข่ พญานาคชั้นสูงเกิดแบบโอปปาติกะ เป็นชนชั้นปกครอง ที่อยู่ของพญานาคมีตั้งแต่ในแม่น้ำ หนอง คลอง บึงต่างๆ ในอากาศ จนไปถึงสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา พวกพญานาคอยู่ ในการปกครองของท้าววิรูปักษ์ ผู้ปกครองสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกาด้านทิศตะวันตก เหตุที่มาเกิดเป็นพญานาคเพราะทำบุญเจือด้วยราคะ

พญานาค4ตระกูลได้แก่

'''ตระกูลวิรูปักษ์ พญานาคตระกูลสีทอง'''

พญานาคตระกูลสีทองมักมีชาติกำเนิดที่เรียกว่า โอปปะปาติกะ หมายถึง เกิดแล้วโตเลยและไม่มีพ่อแม่ เป็นการกำเนิดแบบเดียวกับเทวดา โดยรูปกายนั้นจะมีเกร็ดสีทองแต่หากเป็นการปรากฎตัวบนโลกมนุษย์อาจแปรสีกายเป็นสีเงินได้เช่นกัน นาคตระกูลสีทองมักอาศัยอยู่สวรรค์ชั้นแรกที่เหล่าสัตว์หิมพานต์อาศัยอยู่และเป็นนาคที่พญาครุฑไม่สามารถจับกินเป็นอาหารได้ เพราะได้รับการยกเว้นด้วยเป็นทายาทในสายตระกูลเดียวกับพญาอนันตนาคราช ผู้เป็นที่ประทับของพระนารายณ์ พญานาคในตระกูลนี้มักมีเศียร 7 เศียร 5 เศียร สามารถแปลงกายเป็นคนได้ อีกทั้งยังสามารถดำรงชีวิตบนโลกมนุษย์เหมือนคนปกติ หากว่าไม่กระทำชั่วมนต์อาลัมพายน์จะทำอะไรไม่ได้ แต่หากทำชั่วก็อาจถูกลดฐานะตัวเองลงหรืออาจถูกลงโทษสถานหนักได้ แต่หากบำเพ็ญเพียรแก่กล้าก็อาจมีอิทธิฤทธิ์มากกว่าพญาครุฑได้เช่นกัน มักสังการเหยื่อด้วยสายตา เช่น นางพญานาคราชอุรคาเทวี จากเรื่องมณีสวาท พญานาคในตระกูลวิรูปักษ์ มี 7 เศียร กายสีทอง แปลงกายแล้วมีความงดงามราวนางสวรรค์ องค์มุจรินทร์นาคราช พญานาคชนชั้นปกครอง กายสีทอง มี 7 เศียร เมื่อแปลงกายเป็นมนุษย์มีรูปงามดุจเทวดา มีอิทธิฤทธิ์สามารถฆ่าคนด้วยการจ้องตาได้

'''ตระกูลเอราปถ พญานาคตระกูลสีเขียว'''

พญานาคตระกูลเอราปถะมีทั้งที่กำเนิดแบบโอปะปาติกะ แบบสังเสทชะคือเกิดจากเหงื่อไคลของพญานาคผู้มีบารมีแก่กล้า และแบบอัณฑชะคือเกิดจากฟองไข่ รูปกายนั้นนอกจากมีขนาดใหญ่ใกล้เคียงกับพญานาคตระกูลสีทองแล้วยังมีอิทธิฤทธิ์ใกล้เคียงได้หากว่าบำเพ็ญตบะจนสำเร็จ เกร็ดมีสีเขียวมรกตมักอาศัยอยู่ใต้น้ำ หากว่าเป็นนาคชนชั้นปกครองมักมีนาคในตระกูลสีเขียวเป็นนาคบริวาร และมีอิทธิฤทธิ์สามารถบันดาลให้ฝนตกได้ อีกทั้งยังสามารถใช้สายตาในการสังหารเหยื่อได้  ส่วนใหญ่นาคในตระกูลสีเขียวมักจะมี 1 เศียร แต่หากเป็นนาคชนชั้นปกครองก็สามารถมี 7 เศียร หรือ 5 เศียรได้เช่นกัน โดยอิทธิฤทธิ์จะกว้างขวางแต่ต้องบำเพ็ญตบะให้บารมีแก่กล้า

เช่น นางพญานาคสมุทรมาลา จากเรื่อง อุทัยเทวี ผู้เป็นมารดาของนางอุทัยเทวี เป็นพญานาคชนชั้นปกครองและเป็นราชบุตรีของพญานาคผู้ทรงปกครองใต้บาดาล มี 1 เศียร สามารถแปลงกายเป็นหญิงสาวงดงามได้ มีอิทธิฤทธิ์สามารถเผาคนให้ตายด้วยสายตาได้

'''ตระกูลฉัพพยาปุตตะ พญานาคตระกูลสีรุ้ง'''

เป็นพญานาคที่มีความกว้างขวางในด้านอิทธิฤทธิ์ขึ้นอยู่กับบารมีและความแก่กล้าของตบะ รวมทั้งสามารถมีสถานะเทียบเท่าพญานาคในตระกูลสีเขียวได้ หากว่าแปลงกายเป็นมนุษย์จะมีความงามคล้ายกับหญิงชาวบ้านทั่วไป ในชั้นนี้ไม่ค่อยปรากฎว่าเป็นชนชั้นปกครอง และส่วนใหญ่หายากมากด้วยมักมีที่อาศัยอยู่ในสถานที่เรียกว่าป่าซ้อนป่า คือป่าที่อยู่ในส่วนซ่อนเร้นของโลก มักกำเนิดจากฟองไข่หรือไม่กก็การมักหมมของสิ่งสกปรก

เช่น นางพญานาคนาคี หลานสาวของเจ้าปู่ศรีสุทโธ กายสีขาวผ่องแต่บางครั้งเห็นเป็นสีหลายสีปนกัน

'''ตระกูลกัณหาโคตมะ พญานาคตระกูลสีดำ'''

พญานาคตระกูลนี้มักเป็นชนชั้นข้ารับใช้ อิทธิฤทธิ์บางเบาหากเทียบกับผู้วิเศษ มักกำเนิดจากไข่และสิ่งหมักหมม มีที่อยู่อาศัยอยู่ในถ้ำมีผิวกายสีดำ มักมีหน้าที่เฝ้าถ้ำหรือเฝ้าสมบัติ หากบำเพ็ญตบะจนแก่กล้าก็สามารถเทียบเท่านาคตระกูลสีรุ้งได้เช่นกัน

== พิษพญานาค ==
'''พญานาคมีพิษร้ายแรงและความแตกต่างของพิษจะขึ้นอยู่กับสายตระกูลและวิธีทำร้ายที่ต่างกัน'''

1.ปูติมุขะ เป็นนาคมีพิษ ถ้ากัดผู้ใดแล้วรอยแผลจะเปื่อยเน่า นำเหลืองไหล ถ้าไม่มียารักษาจะถึงแก่ความตายในเวลารวดเร็ว

2.กฎฐะมุขะ เป็นนาคมีพิษ ถ้ากัดผู้ใดแล้วร่างกายเหยื่อจะแข็งทื่อไปทั้งตัว แขนขางอไม่ได้ และจะปวดอย่างแสนสาหัส และตายอย่างรวดเร็ว

3.อัคคิมุขะ เป็นนาคมีพิษ ถ้ากัดผู้ใดแล้วจะเกิดอาการเร่าร้อนไปทั้งตัวดุจไฟเผา แผลจะมีลักษณะคล้ายถูกไฟไหม้

4.สัตถะมุขะ เป็นนาคมีพิษ ถ้ากัดผู้ใดแล้วจะตายทันทีเหมือนถูกฟ้าผ่า

'''พญานาคสี่ประเภทนี้สามารถทำอันตรายได้อีกอย่างละ 4 วิธี คือ'''

1.ทัฏฐะวิสาพญานาค เมื่อขบกัดแล้วจะเกิดพิษซ่านไปทั่วร่างกาย

2.ทิฏฐะวิสะพญานาค ใช้วิธีมองแล้วพ่นพิษออกทางตา

3.ผุฏฐะวิสะพญานาค ใช้ลมหายใจพ่นเป็นพิษแผ่ซ่าน

4.วาตาวิสะพญานาค มีพิษที่กาย จะแผ่พิษจากตัว

'''รวมว่ามีวิธีทำอันตรายได้ 16 วิธี แต่ใน 16 วิธีนี้ยังมีแบ่งภาคออกไปอีก 4 วิธี คือ'''

1.อาตตะวิสนะโฆระวิสะ มีพิษแผ่ซ่านออกไปอย่างรวดเร็วแต่ไม่รุนแรง

2.โฆระวิสนะอาคตะวิสะ มีพิษรุนแรงมาก แต่พิษนั้นแผ่ออกไปช้าๆ

3.อาคตวิสนะโฆระวิสะ มีพิษแผ่ซ่านไปอย่างรวดเร็วและรุนแรงมาก

4.นะอาควิสนะโฆระวิสะ มีพิษแผ่ช้าๆและไม่รุนแรง

'''รวมแล้วเป็นพญานาคทั้งหมด 256 ชนิด ในแต่ละชนิดยังแบ่งออกเป็นสองพวก คือ'''

1.ชลชะพญานาค เป็นนาคที่เกิดในน้ำ

2.ถลชะพญานาค เป็นนาคที่เกิดบนบก


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:14, 8 ตุลาคม 2563

พญานาค (นาคราช)
เทวรูปนาคราชที่ทศาวตารมนเทียร
ชื่อในอักษรเทวนาครีनागराज
ชื่อในการทับศัพท์ภาษาสันสกฤตNāgarāja
ชื่อในการทับศัพท์แบบไวลีKlu'i rgyal po
ส่วนเกี่ยวข้องนาค
ที่ประทับโลก

พญานาค หรือ นาคราช (สันสกฤต: नागराज นาคราช) หมายถึง นาคผู้เป็นใหญ่ นาคผู้เป็นหัวหน้า[1] ตามความเชื่อในศาสนาแบบอินเดีย คล้ายกับพญามังกร (จีน: 龍王 หลงหวัง) ตามคติศาสนาพื้นบ้านจีน

ศาสนาพุทธ

พระไตรปิฎกภาษาบาลีกล่าวถึงพญานาคหลายตน เช่น

  • มณีกัณฐ์ มีแก้วมณีประดับที่คอ อาศัยในแม่น้ำคงคา ศรัทธาฤๅษีตนหนึ่งจึงขึ้นมาขดตัว 7 รอบแล้วแผ่พังพานใหญ่บนศีรษะฤๅษีนั้น[2]
  • มุจลินท์ ได้ขดตัว 7 รอบพระโคตมพุทธเจ้า แล้วแผ่พังพานใหญ่บนพระเศียรเพื่อปกป้องพระองค์จากสภาพอากาศและสัตว์ต่าง ๆ ระหว่างทรงเสวยวิมุตติสุขใต้ต้นจิกหลังตรัสรู้[3] เป็นที่มาของปางนาคปรก
  • สุปัสสะ ผู้กราบทูลพระพุทธเจ้าว่านาคที่ไม่มีศรัทธาเลื่อมใสอาจทำร้ายภิกษุที่ฉันเนื้องู เมื่อพญานาคกลับไปหลังจากฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้ว ก็ทรงบัญญัติสิกขาบทว่าภิกษุฉันเนื้องูต้องอาบัติทุกกฎ[4]

ในอรรถกถา กล่าวถึงพญานาคอื่น ๆ เช่น

  • กาฬะ เมื่อพระโคดมลอยถาดทองที่แม่น้ำเนรัญชรา ถาดนั้นลอยทวนน้ำแล้วจมลงไปในนาคพิภพ แล้วซ้อนใต้ถาดของพระพุทธเจ้าสามพระองค์ พญากาฬนาคราชได้ยินเสียงนั้นแล้วจึงกล่าวว่า เมื่อวาน พระพุทธเจ้าบังเกิดขึ้นองค์หนึ่ง วันนี้บังเกิดขึ้นอีกหนึ่งองค์ แล้วลุกขึ้นกล่าวสรรเสริญด้วยบทหลายร้อยบท[5]

ศาสนาฮินดู

ในศาสนาฮินดู มีนาค 3 ตนที่ได้ชื่อว่าพญานาค ได้แก่ เศษะ วาสุกี และ ตักษกะ ทั้งหมดเป็นบุตรของพระฤๅษีกัศยปะกับนางกัทรุ

  • เศษะ หรือ อนันตนาคราช เป็นบุตรตนโตผู้อุทิศตนรับใช้พระวิษณุ เป็นพระแท่นบรรทมของพระองค์เมื่อทรงบำเพ็ญโยคนิทรา ซึ่งรู้จักในชื่อนารายณ์บรรทมสินธุ์
  • วาสุกี หรือ วาสุกรี เป็นบุตรคนรองผู้รับใช้พระศิวะ ให้ทรงใช้เป็นสังวาลย์ห้อยพระศอ และเสียสละร่างกายเป็นเชือกกวนเกษียรสมุทรแก่เหล่าเทพและอสูร
  • ตักษกะ เป็นศัตรูของพระอรชุน ต่อมาพ่ายแพ้จึงถูกเนรเทศไปอยู่ตักศิลา

อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถานพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556. 1,544 หน้า. ISBN 978-616-7073-80-4
  2. กุฏิการสิกขาบท, พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑ พระวินัยปิฎกเล่มที่ ๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
  3. มุจลินทกถา, พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑ พระวินัยปิฎกเล่มที่ ๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
  4. พระพุทธบัญญัติห้ามฉันเนื้องู, พระไตรปิฎกเล่มที่ ๕ พระวินัยปิฎกเล่มที่ ๕ มหาวรรค ภาค ๒
  5. อรรกถาพุทธาปทาน, อรรถกถา ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑ เถราปทาน ๑. พุทธวรรค