ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดยุก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขของ 171.100.250.122 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Narutzy
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{บรรดาศักดิ์ยุโรป}
{{บรรดาศักดิ์ยุโรป}}


''ดยุก'' {lang-en|duke}} {{IPA-en|djuːk|UK} <ref>[http://nwnt.prd.go.th/web/News/SpecialNews?NT22_TmpID=TM5705010144820340402 พระราชสาส์นแสดงความยินดีไปยังสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2], สำนักข่าว กรมประชาสัมพันธ์, เผยแพร่วันที่ 9 กันยายน 2558, เรียกข้อมูลวันที่ 13 กันยายน 2558</ref> หรือ '''ดุ๊ก'''<ref>{{Cite RIT-EU | 1 = [[สัญชัย สุวังบุตร]] | 2 = [[ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม]] และคณะ | 3 = http://www.royin.go.th/upload/297/FileUpload/950_4913.pdf | 4 = 3 | 5 = 1 (อักษร A-B) | 6 = 974-9588-25-8 | 7 = 42 | 8 = | 9 = 2547 }}</ref> ({{IPA-en|duːk|US}}) เป็น[[บรรดาศักดิ์ยุโรป|บรรดาศักดิ์]]ของ[[ขุนนาง]]ในทวีปยุโรป เป็นตำแหน่งทางปกครองที่เป็นรองจากกษัตริย์ซึ่งปกครองดินแดนที่เรียกว่า "[[ดัชชี]]" ส่วนตำแหน่งดยุกใน[[สหราชอาณาจักร|หมู่เกาะอังกฤษ]]เป็นเพียงตำแหน่งที่ตั้งไว้เป็นเกียรติยศเท่านั้น ไม่มีอำนาจในทางปกครองเหมือนในประเทศยุโรปอื่นๆ ปัจจุบันตำแหน่งดยุก(ที่ไม่ใช่ราชวงศ์)ปรากฏอยู่อย่างเป็นทางการเฉพาะใน[[สหราชอาณาจักร]]เท่านั้น
'''ดยุก''' ({{lang-en|duke}} {{IPA-en|djuːk|UK}}) <ref>[http://nwnt.prd.go.th/centerweb/News/SpecialNewsList?NT22_TmpID=TM57050101 พระราชสาส์นแสดงความยินดีไปยังสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2], สำนักข่าว กรมประชาสัมพันธ์, เผยแพร่วันที่ 9 กันยายน 2558, เรียกข้อมูลวันที่ 13 กันยายน 2558</ref> หรือ '''ดุ๊ก'''<ref>{{Cite RIT-EU | 1 = [[สัญชัย สุวังบุตร]] | 2 = [[ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม]] และคณะ | 3 = http://www.royin.go.th/upload/297/FileUpload/950_4913.pdf | 4 = 3 | 5 = 1 (อักษร A-B) | 6 = 974-9588-25-8 | 7 = 42 | 8 = | 9 = 2547 }}</ref> ({{IPA-en|duːk|US}}) เป็น[[บรรดาศักดิ์ยุโรป|บรรดาศักดิ์]]ของ[[ขุนนาง]]ในทวีปยุโรป เป็นตำแหน่งทางปกครองที่เป็นรองจากกษัตริย์ซึ่งปกครองดินแดนที่เรียกว่า "[[ดัชชี]]" ส่วนตำแหน่งดยุกใน[[สหราชอาณาจักร|หมู่เกาะอังกฤษ]]เป็นเพียงตำแหน่งที่ตั้งไว้เป็นเกียรติยศเท่านั้น ไม่มีอำนาจในทางปกครองเหมือนในประเทศยุโรปอื่นๆ ปัจจุบันตำแหน่งดยุก(ที่ไม่ใช่ราชวงศ์)ปรากฏอยู่อย่างเป็นทางการเฉพาะใน[[สหราชอาณาจักร]]เท่านั้น


ภริยาของดยุกมีตำแหน่งเป็น '''ดัชเชส''' (Duchess) ตามสิทธิของคู่สมรส อย่างไรก็ตาม ในกรณีที่ดยุกมีแต่บุตรสาว บุตรสาวจะได้ขึ้นสืบตำแหน่งแทนเมื่อดยุกถึงแก่อสัญกรรม ซึ่งบุตรสาวที่ได้สืบตำแหน่งดยุกนี้จะมีตำแหน่งเป็น '''ดัชเชส''' ด้วยเช่นกันแต่เป็นดัชเชสจากการสืบตระกูล ในกรณีนี้ สิทธิของคู่สมรสจะไม่ส่งผ่านไปยังสามี ยกตัวอย่าง [[จอห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระ|ดยุกที่ 1 แห่งมาร์ลบะระ]] มีเพียงธิดาเท่านั้น เมื่อเขาถึงแก่อสัญกรรม ธิดาของเขาจึงขึ้นสืบตำแหน่งต่อเป็น [[Henrietta Godolphin, 2nd Duchess of Marlborough|ดัชเชสที่ 2 แห่งมาร์ลบะระ]] อย่างไรก็ตาม สามีของนางจะไม่มีสิทธิหรือเกียรติยศใดๆในมาร์ลบะระ เมื่อนางถึงแก่อสัญกรรม บุตรชายของนางจึงสืบตำแหน่งต่อเป็นดยุกที่ 3 แห่งมาร์ลบะระ
ภริยาของดยุกมีตำแหน่งเป็น '''ดัชเชส''' (Duchess) ตามสิทธิของคู่สมรส อย่างไรก็ตาม ในกรณีที่ดยุกมีแต่บุตรสาว บุตรสาวจะได้ขึ้นสืบตำแหน่งแทนเมื่อดยุกถึงแก่อสัญกรรม ซึ่งบุตรสาวที่ได้สืบตำแหน่งดยุกนี้จะมีตำแหน่งเป็น '''ดัชเชส''' ด้วยเช่นกันแต่เป็นดัชเชสจากการสืบตระกูล ในกรณีนี้ สิทธิของคู่สมรสจะไม่ส่งผ่านไปยังสามี ยกตัวอย่าง [[จอห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระ|ดยุกที่ 1 แห่งมาร์ลบะระ]] มีเพียงธิดาเท่านั้น เมื่อเขาถึงแก่อสัญกรรม ธิดาของเขาจึงขึ้นสืบตำแหน่งต่อเป็น [[Henrietta Godolphin, 2nd Duchess of Marlborough|ดัชเชสที่ 2 แห่งมาร์ลบะระ]] อย่างไรก็ตาม สามีของนางจะไม่มีสิทธิหรือเกียรติยศใดๆในมาร์ลบะระ เมื่อนางถึงแก่อสัญกรรม บุตรชายของนางจึงสืบตำแหน่งต่อเป็นดยุกที่ 3 แห่งมาร์ลบะระ
บรรทัด 15: บรรทัด 15:


{{เรียงลำดับ}}
{{เรียงลำดับ}}

[[หมวดหมู่:บรรดาศักดิ์ในทวีปยุโรป]]
[[หมวดหมู่:ดยุก| ]]
[[หมวดหมู่:ระบบเจ้าขุนมูลนาย]]
{{โครง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:54, 21 กันยายน 2563

ดยุก (อังกฤษ: duke สำเนียงบริเตน: /djuːk/) [1] หรือ ดุ๊ก[2] (สำเนียงอเมริกัน: /duːk/) เป็นบรรดาศักดิ์ของขุนนางในทวีปยุโรป เป็นตำแหน่งทางปกครองที่เป็นรองจากกษัตริย์ซึ่งปกครองดินแดนที่เรียกว่า "ดัชชี" ส่วนตำแหน่งดยุกในหมู่เกาะอังกฤษเป็นเพียงตำแหน่งที่ตั้งไว้เป็นเกียรติยศเท่านั้น ไม่มีอำนาจในทางปกครองเหมือนในประเทศยุโรปอื่นๆ ปัจจุบันตำแหน่งดยุก(ที่ไม่ใช่ราชวงศ์)ปรากฏอยู่อย่างเป็นทางการเฉพาะในสหราชอาณาจักรเท่านั้น

ภริยาของดยุกมีตำแหน่งเป็น ดัชเชส (Duchess) ตามสิทธิของคู่สมรส อย่างไรก็ตาม ในกรณีที่ดยุกมีแต่บุตรสาว บุตรสาวจะได้ขึ้นสืบตำแหน่งแทนเมื่อดยุกถึงแก่อสัญกรรม ซึ่งบุตรสาวที่ได้สืบตำแหน่งดยุกนี้จะมีตำแหน่งเป็น ดัชเชส ด้วยเช่นกันแต่เป็นดัชเชสจากการสืบตระกูล ในกรณีนี้ สิทธิของคู่สมรสจะไม่ส่งผ่านไปยังสามี ยกตัวอย่าง ดยุกที่ 1 แห่งมาร์ลบะระ มีเพียงธิดาเท่านั้น เมื่อเขาถึงแก่อสัญกรรม ธิดาของเขาจึงขึ้นสืบตำแหน่งต่อเป็น ดัชเชสที่ 2 แห่งมาร์ลบะระ อย่างไรก็ตาม สามีของนางจะไม่มีสิทธิหรือเกียรติยศใดๆในมาร์ลบะระ เมื่อนางถึงแก่อสัญกรรม บุตรชายของนางจึงสืบตำแหน่งต่อเป็นดยุกที่ 3 แห่งมาร์ลบะระ

คำว่าดยุกมาจากภาษาละตินว่า dux ซึ่งมีความหมายว่า 'ผู้นำ' คำนี้ถูกใช้ในยุคสาธารณรัฐโรมันเพื่อสื่อถึงผู้นำทางทหารที่ไม่มียศอย่างเป็นทางการ และต่อมาก็ใช้สื่อถึงผู้บัญชาการทหารประจำมณฑล

อ้างอิง

  1. พระราชสาส์นแสดงความยินดีไปยังสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2, สำนักข่าว กรมประชาสัมพันธ์, เผยแพร่วันที่ 9 กันยายน 2558, เรียกข้อมูลวันที่ 13 กันยายน 2558
  2. สัญชัย สุวังบุตร (2547). ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม และคณะ (บ.ก.). สารานุกรมประวัติศาสตร์สากลสมัยใหม่: ยุโรป ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (pdf). Vol. 1 (อักษร A-B) (3 ed.). กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน. p. 42. ISBN 974-9588-25-8. สืบค้นเมื่อ 2 กรกฎาคม 2555.

ดูเพิ่ม