ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปนาลี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
+ ชื่อนิยม เผื่อการค้นหา
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:


'''ปนาลี''' หรือ '''การ์กอยล์'''(ภาษาอังกฤษ: Gargoyle) คือ รูปสลักตามมุมต่าง ๆ ของสถาปัตยกรรมในแบบกอธิคต่าง ๆ ใน [[ยุโรป]] โดยมากจะสลักเป็นรูป [[มังกร]] หรือ ปีศาจ ในท่วงท่าต่าง ๆ โดยท่าที่รู้จักมากที่สุด คือ นั่งยอง ๆ ตามองไปทางข้างหน้า
'''ปนาลี''' หรือ '''การ์กอยล์'''(ภาษาอังกฤษ: Gargoyle) คือ รูปสลักตามมุมต่าง ๆ ของสถาปัตยกรรมในแบบกอธิคต่าง ๆ ใน [[ยุโรป]] โดยมากจะสลักเป็นรูป [[มังกร]] หรือ ปีศาจ ในท่วงท่าต่าง ๆ โดยท่าที่รู้จักมากที่สุด คือ นั่งยอง ๆ ตามองไปทางข้างหน้า

ความหมายของปนาลีทาง[[สถาปัตยกรรม]]หมายถึงหินที่แกะเป็นรูปอัปลักษณ์ ([[:en:grotesque|grotesque]]) ยื่นออกไปจากสิ่งก่อสร้างที่มีรางและช่องให้น้ำจากหลังคาไหลห่างจากตัวสิ่งก่อสร้าง

คำว่า “gargoyle” มาจาก[[ภาษาฝรั่งเศส]]ว่า “gargouille” ซึ่งแปลว่าคอหอย<ref name="AHD4-gargoyle">{{cite book | author = Houghton Mifflin | authorlink = Houghton Mifflin | title = The American Heritage Dictionary of the English Language | edition = 4th ed | publisher = Houghton Mifflin | date = 2000 | location = Boston and New York | pages = page 725 | url = http://www.houghtonmifflinbooks.com/epub/ahd4.shtml | isbn = 978-0-395-82517-4}}</ref> ซึ่งมาจาก[[ภาษาละติน]] “gurgulio, gula” หรือคำที่มีรากมาจาก “gar” ที่แปลว่า กลืน ซึ่งคล้ายเสียงน้ำไหลในท่อ (ตัวอย่าง: [[ภาษาสเปน]] “garganta” แปลว่าคอหอย จึงใช้คำว่า “garganta” สำหรับ “gargoyle”)

รูปอัปลักษณ์ที่มิได้ใช้เป็นรางน้ำแต่ใช้เป็นสิ่งตกแต่งตามภาษาสามัญก็ยังเรียกว่า ปนาลี<ref name="AHD4-gargoyle"/> ถึงแม้ว่าทางสถาปัตยกรรมจะแยกระหว่าง“ปนาลี” กับ “รูปอัปลักษณ์” ปนาลีจะเป็นคำที่ใช้สำหรับรูปอัปลักษณ์ที่ใช้เป็นรางน้ำ และ คำว่า“รูปอัปลักษณ์” จะหมายถึงรูปสลักที่มิได้ใช้เป็นรางน้ำ


การ์กอยล์ เชื่อว่า เดิมเป็นมังกร ชาวยุโรปใน[[ยุคกลาง]]เชื่อว่า การ์กายล์เมื่อตอนกลางวันจะเป็นรูปสลัก ตกกลางคืนจะกลายร่างเป็นมังกรบินไปทั่วหมู่บ้านหรือเมืองที่อาศัย เพื่อปกป้องดูแลมิให้มีสิ่งชั่วร้ายต่าง ๆ เข้ามารังควาญ
การ์กอยล์ เชื่อว่า เดิมเป็นมังกร ชาวยุโรปใน[[ยุคกลาง]]เชื่อว่า การ์กายล์เมื่อตอนกลางวันจะเป็นรูปสลัก ตกกลางคืนจะกลายร่างเป็นมังกรบินไปทั่วหมู่บ้านหรือเมืองที่อาศัย เพื่อปกป้องดูแลมิให้มีสิ่งชั่วร้ายต่าง ๆ เข้ามารังควาญ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:40, 16 มกราคม 2551

ปนาลี บนวิหารนอเตอร์ดามในฝรั่งเศส

ปนาลี หรือ การ์กอยล์(ภาษาอังกฤษ: Gargoyle) คือ รูปสลักตามมุมต่าง ๆ ของสถาปัตยกรรมในแบบกอธิคต่าง ๆ ใน ยุโรป โดยมากจะสลักเป็นรูป มังกร หรือ ปีศาจ ในท่วงท่าต่าง ๆ โดยท่าที่รู้จักมากที่สุด คือ นั่งยอง ๆ ตามองไปทางข้างหน้า

ความหมายของปนาลีทางสถาปัตยกรรมหมายถึงหินที่แกะเป็นรูปอัปลักษณ์ (grotesque) ยื่นออกไปจากสิ่งก่อสร้างที่มีรางและช่องให้น้ำจากหลังคาไหลห่างจากตัวสิ่งก่อสร้าง

คำว่า “gargoyle” มาจากภาษาฝรั่งเศสว่า “gargouille” ซึ่งแปลว่าคอหอย[1] ซึ่งมาจากภาษาละติน “gurgulio, gula” หรือคำที่มีรากมาจาก “gar” ที่แปลว่า กลืน ซึ่งคล้ายเสียงน้ำไหลในท่อ (ตัวอย่าง: ภาษาสเปน “garganta” แปลว่าคอหอย จึงใช้คำว่า “garganta” สำหรับ “gargoyle”)

รูปอัปลักษณ์ที่มิได้ใช้เป็นรางน้ำแต่ใช้เป็นสิ่งตกแต่งตามภาษาสามัญก็ยังเรียกว่า ปนาลี[1] ถึงแม้ว่าทางสถาปัตยกรรมจะแยกระหว่าง“ปนาลี” กับ “รูปอัปลักษณ์” ปนาลีจะเป็นคำที่ใช้สำหรับรูปอัปลักษณ์ที่ใช้เป็นรางน้ำ และ คำว่า“รูปอัปลักษณ์” จะหมายถึงรูปสลักที่มิได้ใช้เป็นรางน้ำ

การ์กอยล์ เชื่อว่า เดิมเป็นมังกร ชาวยุโรปในยุคกลางเชื่อว่า การ์กายล์เมื่อตอนกลางวันจะเป็นรูปสลัก ตกกลางคืนจะกลายร่างเป็นมังกรบินไปทั่วหมู่บ้านหรือเมืองที่อาศัย เพื่อปกป้องดูแลมิให้มีสิ่งชั่วร้ายต่าง ๆ เข้ามารังควาญ

  1. 1.0 1.1 Houghton Mifflin (2000). The American Heritage Dictionary of the English Language (4th ed ed.). Boston and New York: Houghton Mifflin. pp. page 725. ISBN 978-0-395-82517-4. {{cite book}}: |edition= has extra text (help); |pages= has extra text (help)