ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เว็บเชิงความหมาย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Turkmen (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 2001:44C8:448B:47DA:1:2:956F:D981 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Octahedron80
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว SWViewer [1.4]
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''เว็บเชิงความหมาย''' หรือ '''ซีแมนติกเว็บ''' ({{lang-en|Semantic Web}}) คือพัฒนาการของ[[เวิลด์ไวด์เว็บ]]ซึ่งเกี่ยวข้องกับข้อมูลและการบริการบนเว็บไซต์ โดยสร้างความเป็นไปได้ที่เว็บไซต์จะสามารถเข้าใจถึงความต้องการของผู้ใช้และเครื่องมือที่ใช้บรรจุลงในสารบัญเว็บไซต์<ref> {{cite journal
| last = Berners-Lee
| first = Tim
| coauthors = James Hendler and Ora Lassila
| title = The Semantic Web
| journal = Scientific American Magazine
| date = May 17, 2001
| url = http://www.sciam.com/article.cfm?id=the-semantic-web&print=true
| accessdate = 2008-03-26}}
</ref><ref name="w3c faq">{{cite web|url=http://www.w3.org/2001/sw/SW-FAQ|title= W3C Semantic Web Frequently Asked Questions |publisher=[[W3C]]|accessdate=2008-03-13}}</ref> ซึ่งมีที่มาจาก[[เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม]] เซอร์ [[ทิม เบอร์เนิร์ส-ลี]] มีทัศนคติเกี่ยวกับเว็บว่าเป็นแหล่งรวมการแลกเปลี่ยนข้อมูลและความรู้<ref>{{cite web|url=http://www.w3.org/2001/sw/Activity.html|title=Semantic Web Activity Statement|publisher=[[W3C]]|accessdate=2008-03-13|date=2008-03-07|author=Herman, Ivan}}</ref>

เว็บเชิงความหมายโดยแก่นแท้จะบรรจุไปด้วยเซ็ตของหลักของการออกแบบ<ref>{{cite web|url=http://www.w3.org/DesignIssues/|title=Design Issues|publisher=[[W3C]]|accessdate=2008-03-13}}</ref> การทำงานร่วมกัน และความหลากหลายของเทคโนโลยี พื้นฐานบางส่วนของเว็บเชิงความหมายแสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้ที่จะรองรับกับเทคโนโลยีหรือสามารถนำมาใช้ได้จริงในภายภาคหน้า<ref name="w3c faq" /> ส่วนอื่นของเว็บเชิงความหมายแสดงถึงลักษณะพิเศษ<ref name="W3C, SemWeb" >{{cite web|url=http://www.w3.org/2001/sw/
| title = W3C Semantic Web Activity
| publisher = [[W3C]]
| accessdate = 2008-03-13
| date = 2008-03-12
| author = Herman, Ivan
}}</ref> ซึ่งจะประกอบด้วย Resource Description Framework (RDF) ความหลากหลายของการสับเปลี่ยนของข้อมูล (เช่น RDF/XML, N3, Turtle, N-Triples) และเครื่องหมาย เช่น RDF Schema (RDFS) และ [[Web Ontology Language]] (OWL) ซึ่งสิ่งเหล่านี้มุ่งหมายเพื่อเตรียมการถึงส่วนประกอบของการจำกัดความ กำหนดการ และความรู้ที่ได้รับ

== จุดประสงค์ ==
== จุดประสงค์ ==



รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:17, 22 สิงหาคม 2563

เว็บเชิงความหมาย หรือ ซีแมนติกเว็บ (อังกฤษ: Semantic Web) คือพัฒนาการของเวิลด์ไวด์เว็บซึ่งเกี่ยวข้องกับข้อมูลและการบริการบนเว็บไซต์ โดยสร้างความเป็นไปได้ที่เว็บไซต์จะสามารถเข้าใจถึงความต้องการของผู้ใช้และเครื่องมือที่ใช้บรรจุลงในสารบัญเว็บไซต์[1][2] ซึ่งมีที่มาจากเวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม เซอร์ ทิม เบอร์เนิร์ส-ลี มีทัศนคติเกี่ยวกับเว็บว่าเป็นแหล่งรวมการแลกเปลี่ยนข้อมูลและความรู้[3]

เว็บเชิงความหมายโดยแก่นแท้จะบรรจุไปด้วยเซ็ตของหลักของการออกแบบ[4] การทำงานร่วมกัน และความหลากหลายของเทคโนโลยี พื้นฐานบางส่วนของเว็บเชิงความหมายแสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้ที่จะรองรับกับเทคโนโลยีหรือสามารถนำมาใช้ได้จริงในภายภาคหน้า[2] ส่วนอื่นของเว็บเชิงความหมายแสดงถึงลักษณะพิเศษ[5] ซึ่งจะประกอบด้วย Resource Description Framework (RDF) ความหลากหลายของการสับเปลี่ยนของข้อมูล (เช่น RDF/XML, N3, Turtle, N-Triples) และเครื่องหมาย เช่น RDF Schema (RDFS) และ Web Ontology Language (OWL) ซึ่งสิ่งเหล่านี้มุ่งหมายเพื่อเตรียมการถึงส่วนประกอบของการจำกัดความ กำหนดการ และความรู้ที่ได้รับ

จุดประสงค์

มนุษย์สามารถใช้เว็บไซต์เพื่อจัดเก็บงาน เช่น การค้นหาคำว่า "monkey" ในภาษาอังกฤษ การจองหนังสือในห้องสมุด และการค้นหาราคาแผ่นดีวีดีที่ราคาถูกที่สุด อย่างไรก็ตามคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทำงานได้สำเร็จลุล่วงในงานเดียวกันได้หากปราศจากการควบคุมของมนุษย์ เพราะเว็บเพจได้ถูกออกแบบให้มนุษย์ใช้สำหรับอ่าน ไม่ใช่เครื่องจักรกล เว็บเชิงความหมายคือทัศนคติของข้อมูลที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ ดังนั้นเราจึงแสดงถึงความยุ่งยากของงานซึ่งนำไปสู่การค้นหา การแบ่งปัน และการแบ่งส่วนของข้อมูลบนเว็บ

ความสัมพันธ์กับไฮเปอร์เท็กซ์เว็บ

แฟ้มข้อมูลในคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นเอกสารกับข้อมูล ซึ่งเอกสารจำพวกข้อความในจดหมาย รายงาน ใบปลิวที่อ่านโดยมนุษย์ ข้อมูลจำพวกปฏิทิน สมุดที่อยู่ รายชื่อเพลง แผ่นพับที่แสดงในแอปพลิเคชันซึ่งสามารถมอง ค้นหา และแยกส่วนออกได้หลายทาง

ปัจจุบันนี้เวิลด์ไวด์เว็บใช้พื้นฐานการเขียน Hypertext Markup Language (HTML) เป็นหลัก ซึ่งใช้หลักการของส่วนของโค้ดที่กระจายตัวกับมัลติมีเดีย เช่น รูปภาพและฟอร์ม ซึ่งอธิบายได้ดังนี้

<meta name="keywords" content="computing, computer studies, computer">
<meta name="description" content="Cheap widgets for sale">
<meta name="author" content="John Doe">

อ้างอิง

  1. Berners-Lee, Tim (May 17, 2001). "The Semantic Web". Scientific American Magazine. สืบค้นเมื่อ 2008-03-26. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  2. 2.0 2.1 "W3C Semantic Web Frequently Asked Questions". W3C. สืบค้นเมื่อ 2008-03-13.
  3. Herman, Ivan (2008-03-07). "Semantic Web Activity Statement". W3C. สืบค้นเมื่อ 2008-03-13.
  4. "Design Issues". W3C. สืบค้นเมื่อ 2008-03-13.
  5. Herman, Ivan (2008-03-12). "W3C Semantic Web Activity". W3C. สืบค้นเมื่อ 2008-03-13.