ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาอรรถการประสิทธิ์ (วิลเลียม แอลเฟรด คุณะดิลก)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xiengyod~commonswiki (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Xiengyod~commonswiki (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล บุคคล
{{กล่องข้อมูล บุคคล
| name = พระยาอรรถการประสิทธิ์<br>(วิลเลียม อัลเฟรด คุณะดิลก)
| name = พระยาอรรถการประสิทธิ์<br>(วิลเลียม แอลเฟรด คุณะดิลก)
| image =
| image =
| alt =
| alt =
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
| mother =
| mother =
}}
}}
'''พระยาอรรถการประสิทธิ์ (วิลเลียม อัลเฟรด คุณะดิลก)''' ({{อังกฤษ|William Alfred Goone-Tilleke}}; 21 สิงหาคม 2403-7 มีนาคม 2460) เป็นขุนนาง [[นักกฎหมาย]] และนักธุรกิจชาวศรีลังกา สัญชาติไทย เขาเป็นผู้ก่อตั้งสำนักงานกฎหมาย[[ตีเลกี & กิบบินส์]] ดำรงตำแหน่งสำคัญทางราชการสยามเป็น[[สำนักงานอัยการสูงสุด (ประเทศไทย)|อธิบดีกรมอัยการ]]คนที่สองของประเทศสยาม และเป็นองคมนตรีใน[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]<ref>{{cite web|url=http://newspapers.nl.sg/Digitised/Article/straitstimes19320116-1.2.71.aspx|title=Unknown|work=The Straits Times|date=16 January 1932|page=12|accessdate=24 August 2016}}</ref>
'''พระยาอรรถการประสิทธิ์ (วิลเลียม แอลเฟรด คุณะดิลก)''' ({{อังกฤษ|William Alfred Goone-Tilleke}}; 21 สิงหาคม 2403-7 มีนาคม 2460) เป็นขุนนาง [[นักกฎหมาย]] และนักธุรกิจชาวศรีลังกา สัญชาติไทย เขาเป็นผู้ก่อตั้งสำนักงานกฎหมาย[[ตีเลกี & กิบบินส์]] ดำรงตำแหน่งสำคัญทางราชการสยามเป็น[[สำนักงานอัยการสูงสุด (ประเทศไทย)|อธิบดีกรมอัยการ]]คนที่สองของประเทศสยาม และเป็นองคมนตรีใน[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]<ref>{{cite web|url=http://newspapers.nl.sg/Digitised/Article/straitstimes19320116-1.2.71.aspx|title=Unknown|work=The Straits Times|date=16 January 1932|page=12|accessdate=24 August 2016}}</ref>


== ภูมิหลัง ==
== ภูมิหลัง ==
พระยาอรรถการประสิทธิ์ (วิลเลียม อัลเฟรด คุณะดิลก) ถือกำเนิดในครอบครัวของผู้ฐานะชาวสิงหล โดยเป็นบุตรชายของโมเสส คูเน-ติเลกี แห่ง[[กัณฏิ]] หัวหน้า[[มุดาลิยาร์]] (Chief Mudaliyar) และผู้พิพากษาสันติการจังหวัดกลางแห่ง[[ซีลอน]]<ref>{{Cite book |editor=Arnold Wright |title=Twentieth Century Impressions of Ceylon: Its History, People, Commerce, Industries and Resources |publisher=Lloyd's Greater Britain Publishing Co. |year=1907 |page=566}}</ref> เขาได้เข้าศึกษาที่วิทยาลัยเซนต์โทมัส (St Thomas' College) และที่[[มหาวิทยาลัยกัลกัตตา]] เมื่อได้รับการรับรองฐานะเนติบัณฑิตในซีลอนแล้ว ท่านจึงเริ่มรับว่าความที่กัณฎิ และได้รับเลือกตั้งให้เป็นสมาชิกสภาเทศบาลเมืองกัณฏิในปี พ.ศ. 2428 หลังจากนั้นก็ได้ปฏิบัติงานในหน้าที่ตุลาการของเทศบาลเมือง
พระยาอรรถการประสิทธิ์ (วิลเลียม แอลเฟรด คุณะดิลก) ถือกำเนิดในครอบครัวของผู้ฐานะชาวสิงหล โดยเป็นบุตรชายของโมเสส คูเน-ติเลกี แห่ง[[กัณฏิ]] หัวหน้า[[มุดาลิยาร์]] (Chief Mudaliyar) และผู้พิพากษาสันติการจังหวัดกลางแห่ง[[ซีลอน]]<ref>{{Cite book |editor=Arnold Wright |title=Twentieth Century Impressions of Ceylon: Its History, People, Commerce, Industries and Resources |publisher=Lloyd's Greater Britain Publishing Co. |year=1907 |page=566}}</ref> เขาได้เข้าศึกษาที่วิทยาลัยเซนต์โทมัส (St Thomas' College) และที่[[มหาวิทยาลัยกัลกัตตา]] เมื่อได้รับการรับรองฐานะเนติบัณฑิตในซีลอนแล้ว ท่านจึงเริ่มรับว่าความที่กัณฎิ และได้รับเลือกตั้งให้เป็นสมาชิกสภาเทศบาลเมืองกัณฏิในปี พ.ศ. 2428 หลังจากนั้นก็ได้ปฏิบัติงานในหน้าที่ตุลาการของเทศบาลเมือง


== ชีวิตในสยาม ==
== ชีวิตในสยาม ==
ในปี พ.ศ. 2433 วิลเลียม อัลเฟรด คูเน-ติเลกี (เรียกโดยย่อว่า ติเลกี) ได้เดินทางมายังประเทศสยาม รับว่าความคดีต่างๆ ในประเทศสยามจนถึงปี พ.ศ. 2437 ท่านจึงได้รับการยอมรับร่วมกับหลวงดำรงธรรมสาร (มี ธรรมาชีวะ) นักกฎหมายชาวสยาม จากความสำเร็จในการว่าความให้แก่[[พระยอดเมืองขวาง (ขำ ยอดเพชร)]] เจ้าเมืองคำม่วน ซึ่งตกเป็นจำเลยในคดีสังหารนายทหารชาวฝรั่งเศสระหว่างเกิด[[วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112]]<ref name="Loos-2006">{{Cite book |first=Tamara|last=Loos |title=Subject Siam: Family, Law, and Colonial Modernity in Thailand |publisher=Cornell University Press |year=2006}}</ref>{{RP|60}}<ref name="auto">{{Cite book |author=Henry Norman |title=The Peoples and Politics of the Far East |publisher=Charles Scribners Sons |year=1895 |page=481}}</ref> ท่ามกลางการเผชิญแรงกดดันจากลัทธิล่าอาณานิคมฝรั่งเศสและก่อนที่ศาลฝ่ายฝรั่งเศสจะเข้ามาจัดการคดีดังกล่าวที่สยาม ติเลกีได้ว่าความปกป้องพระยอดเมืองขวางจนสามารถพิสูจน์ความบริสุทธิ์ได้ คณะผู้พิพากษาทั้ง 7 คนจึงมีคำพิพากษาว่าพระยอดเมืองขวางไม่มีความผิดในคดีนี้<ref name="auto"/> ต่อมาในปี พ.ศ. 2440 ท่านจึงเข้ารับราชการใน[[สำนักงานอัยการสูงสุด (ประเทศไทย)|กรมอัยการ]]ของสยาม และในช่วงเวลาเดียวกันนั้น ติเลกีก็ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาสยามผ่านการลงทุนในบริษัทรถราง บริษัทยางพารา และบริษัทอุตสาหกรรม ท่านยังเป็นเจ้าของบริษัทยางชื่อ Bagan Rubber Company ดำเนินการอยู่ใน[[รัฐกลันตัน]]<ref name="Loos-2006"/>{{RP|60}} ซึ่งเป็นหัวเมืองประเทศราชของสยามจนถึงปี พ.ศ. 2452
ในปี พ.ศ. 2433 วิลเลียม แอลเฟรด คูเน-ติเลกี (เรียกโดยย่อว่า ติเลกี) ได้เดินทางมายังประเทศสยาม รับว่าความคดีต่างๆ ในประเทศสยามจนถึงปี พ.ศ. 2437 ท่านจึงได้รับการยอมรับร่วมกับหลวงดำรงธรรมสาร (มี ธรรมาชีวะ) นักกฎหมายชาวสยาม จากความสำเร็จในการว่าความให้แก่[[พระยอดเมืองขวาง (ขำ ยอดเพชร)]] เจ้าเมืองคำม่วน ซึ่งตกเป็นจำเลยในคดีสังหารนายทหารชาวฝรั่งเศสระหว่างเกิด[[วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112]]<ref name="Loos-2006">{{Cite book |first=Tamara|last=Loos |title=Subject Siam: Family, Law, and Colonial Modernity in Thailand |publisher=Cornell University Press |year=2006}}</ref>{{RP|60}}<ref name="auto">{{Cite book |author=Henry Norman |title=The Peoples and Politics of the Far East |publisher=Charles Scribners Sons |year=1895 |page=481}}</ref> ท่ามกลางการเผชิญแรงกดดันจากลัทธิล่าอาณานิคมฝรั่งเศสและก่อนที่ศาลฝ่ายฝรั่งเศสจะเข้ามาจัดการคดีดังกล่าวที่สยาม ติเลกีได้ว่าความปกป้องพระยอดเมืองขวางจนสามารถพิสูจน์ความบริสุทธิ์ได้ คณะผู้พิพากษาทั้ง 7 คนจึงมีคำพิพากษาว่าพระยอดเมืองขวางไม่มีความผิดในคดีนี้<ref name="auto"/> ต่อมาในปี พ.ศ. 2440 ท่านจึงเข้ารับราชการใน[[สำนักงานอัยการสูงสุด (ประเทศไทย)|กรมอัยการ]]ของสยาม และในช่วงเวลาเดียวกันนั้น ติเลกีก็ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาสยามผ่านการลงทุนในบริษัทรถราง บริษัทยางพารา และบริษัทอุตสาหกรรม ท่านยังเป็นเจ้าของบริษัทยางชื่อ Bagan Rubber Company ดำเนินการอยู่ใน[[รัฐกลันตัน]]<ref name="Loos-2006"/>{{RP|60}} ซึ่งเป็นหัวเมืองประเทศราชของสยามจนถึงปี พ.ศ. 2452


ในปี พ.ศ. 2445 ติเลกีได้ก่อตั้งสำนักงานกฎหมาย[[ตีเลกี & กิบบินส์]] เป็นบริษัทกฎหมายแห่งแรกของสยามและประเทศไทย และยังคงดำเนินกิจการจนถึงทุกวันนี้ โดยเป็นหุ้นส่วนร่วมกับราล์ฟ กิบบินส์ นักกฎหมายชาวอังกฤษซึ่งรับราชการเป็นที่ปรึกษาทางกฎหมายของ[[กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)|กระทรวงยุติธรรม]] (ภายหลังได้เป็นตุลาการศาลระหว่างประเทศในปี พ.ศ. 2459) เขายังได้ร่วมกับ จี.ดับเบิลยู. วอร์ด ก่อตั้งหนังสือพิมพ์ "[[สยามออบเซอร์เวอร์]]" หนังสือพิมพ์ภาษาอังกฤษฉบับแรกของประเทศสยาม นอกจากนี้ ติเลกียังได้รับความไว้วางพระทัยจาก[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ให้เป็นที่ปรึกษาทางกฎหมายชาวต่างประเทศอีกด้วย<ref>{{cite web|url=http://www.ebooksread.com/authors-eng/arnold-wright/twentieth-century-impressions-of-siam-its-history-people-commerce-industries-hci/page-18-twentieth-century-impressions-of-siam-its-history-people-commerce-industries-hci.shtml|title=Read the eBook Twentieth century impressions of Siam: its history, people, commerce, industries, and resources, with which is incorporated an abridged edition of Twentieth century impressions of British Malaya by Arnold Wright online for free (page 18 of 107)|first=Denis Larionov & Alexander|last=Zhulin|accessdate=24 August 2016}}</ref> และยังได้มีส่วนร่วมในการร่างกฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 ซึ่งเป็น[[ประมวลกฎหมายอาญา]]ฉบับแรกของประเทศสยาม<ref>[http://www.museum.coj.go.th/malao/botbat.htm บทบาทของนักกฎหมายชาวต่างประเทศในยุคปฏิรูปกฎหมายและการศาลไทย] [The role of foreign lawyers in Thai legal and judiciary reforms], Court Museum of Thailand, retrieved 2 November 2018.</ref>
ในปี พ.ศ. 2445 ติเลกีได้ก่อตั้งสำนักงานกฎหมาย[[ตีเลกี & กิบบินส์]] เป็นบริษัทกฎหมายแห่งแรกของสยามและประเทศไทย และยังคงดำเนินกิจการจนถึงทุกวันนี้ โดยเป็นหุ้นส่วนร่วมกับราล์ฟ กิบบินส์ นักกฎหมายชาวอังกฤษซึ่งรับราชการเป็นที่ปรึกษาทางกฎหมายของ[[กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)|กระทรวงยุติธรรม]] (ภายหลังได้เป็นตุลาการศาลระหว่างประเทศในปี พ.ศ. 2459) เขายังได้ร่วมกับ จี.ดับเบิลยู. วอร์ด ก่อตั้งหนังสือพิมพ์ "[[สยามออบเซอร์เวอร์]]" หนังสือพิมพ์ภาษาอังกฤษฉบับแรกของประเทศสยาม นอกจากนี้ ติเลกียังได้รับความไว้วางพระทัยจาก[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ให้เป็นที่ปรึกษาทางกฎหมายชาวต่างประเทศอีกด้วย<ref>{{cite web|url=http://www.ebooksread.com/authors-eng/arnold-wright/twentieth-century-impressions-of-siam-its-history-people-commerce-industries-hci/page-18-twentieth-century-impressions-of-siam-its-history-people-commerce-industries-hci.shtml|title=Read the eBook Twentieth century impressions of Siam: its history, people, commerce, industries, and resources, with which is incorporated an abridged edition of Twentieth century impressions of British Malaya by Arnold Wright online for free (page 18 of 107)|first=Denis Larionov & Alexander|last=Zhulin|accessdate=24 August 2016}}</ref> และยังได้มีส่วนร่วมในการร่างกฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 ซึ่งเป็น[[ประมวลกฎหมายอาญา]]ฉบับแรกของประเทศสยาม<ref>[http://www.museum.coj.go.th/malao/botbat.htm บทบาทของนักกฎหมายชาวต่างประเทศในยุคปฏิรูปกฎหมายและการศาลไทย] [The role of foreign lawyers in Thai legal and judiciary reforms], Court Museum of Thailand, retrieved 2 November 2018.</ref>
บรรทัด 36: บรรทัด 36:
พระยาอรรถการประสิทธิ์ได้รับพระราชทานนามสกุลจาก[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ว่า "คุณะดิลก" ([[อักษรโรมัน]]ใช้ "Guna Tilaka") เมื่อ พ.ศ. 2456 โดยแปลงนามสกุลจากภาษาสิงหลให้อยู่ในรูปอักษรไทย ทั้งนี้ มีหมายเหตุกำกับไว้ในทะเบียนนามสกุลพระราชทานว่า ''"เขาชื่อเช่นนี้มาแต่เดิมแล้วแต่ต้องการได้รับอนุมัติ จึ่งตกลงให้เขียนว่า"คุณะดิลก" เช่นนี้ เพื่อให้เป็นไทย เดิมเขียนว่า "คุณะติละกะ" (ตัวโรมัน "Guna Tilleke")"''<ref>[http://www.phyathaipalace.org/%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B8%B8%E0%B8%A5%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%99/nameC.html นามสกุลพระราชทาน อักษร ค - พระราชวังพญาไท]</ref> ทายาทของพระยาอรรถการประสิทธิ์และเครือญาติสกุลคูเน-ติเลกี ที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานในประเทศไทย จึงได้ใช้นามสกุล "คุณะดิลก" สืบมาจนถึงปัจจุบัน
พระยาอรรถการประสิทธิ์ได้รับพระราชทานนามสกุลจาก[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ว่า "คุณะดิลก" ([[อักษรโรมัน]]ใช้ "Guna Tilaka") เมื่อ พ.ศ. 2456 โดยแปลงนามสกุลจากภาษาสิงหลให้อยู่ในรูปอักษรไทย ทั้งนี้ มีหมายเหตุกำกับไว้ในทะเบียนนามสกุลพระราชทานว่า ''"เขาชื่อเช่นนี้มาแต่เดิมแล้วแต่ต้องการได้รับอนุมัติ จึ่งตกลงให้เขียนว่า"คุณะดิลก" เช่นนี้ เพื่อให้เป็นไทย เดิมเขียนว่า "คุณะติละกะ" (ตัวโรมัน "Guna Tilleke")"''<ref>[http://www.phyathaipalace.org/%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B8%B8%E0%B8%A5%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%99/nameC.html นามสกุลพระราชทาน อักษร ค - พระราชวังพญาไท]</ref> ทายาทของพระยาอรรถการประสิทธิ์และเครือญาติสกุลคูเน-ติเลกี ที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานในประเทศไทย จึงได้ใช้นามสกุล "คุณะดิลก" สืบมาจนถึงปัจจุบัน


อนึ่ง เครือญาติของพระยาอรรถการประสิทธิ์ได้เข้ามารับราชการและทำงานในประเทศสยามหลายคน น้องชายของเขาที่ได้รับราชการในสยามได้แก่ พระยาสิงหฬสาคร (อาเธอร์ ฟรานซิส คุณะดิลก) รับราชการเป็นผู้ช่วยอธิบดี[[กรมเจ้าท่า]]ของสยาม และนายแพทย์ พระยาวิรัชเวชกิจ (โรเบิร์ต เอ็ดวิน คุณะดิลก) รับราชการเป็นศัลยแพทย์ประจำพระองค์และนายแพทย์ใหญ่[[วชิรพยาบาล]] ทั้งสองคนนี้ได้แปลงสัญชาติมาเป็นสัญชาติสยามเช่นเดียวกับพระยาอรรถการประสิทธิ์ หลานของเขาคนหนึ่ง ชื่อ R.F.G. Tilleke ได้ทำงานเป็นบรรณาธิการของหนังสือพิมพ์ ''[[Bangkok Times]]''{{Citation needed|date=November 2018}}
อนึ่ง เครือญาติของพระยาอรรถการประสิทธิ์ได้เข้ามารับราชการและทำงานในประเทศสยามหลายคน น้องชายของเขาที่ได้รับราชการในสยามได้แก่ พระยาสิงหฬสาคร (อาเธอร์ แฟรนซิส คุณะดิลก) รับราชการเป็นผู้ช่วยอธิบดี[[กรมเจ้าท่า]]ของสยาม และนายแพทย์ พระยาวิรัชเวชกิจ (โรเบิร์ต เอ็ดวิน คุณะดิลก) รับราชการเป็นศัลยแพทย์ประจำพระองค์และนายแพทย์ใหญ่[[วชิรพยาบาล]] ทั้งสองคนนี้ได้แปลงสัญชาติมาเป็นสัญชาติสยามเช่นเดียวกับพระยาอรรถการประสิทธิ์ หลานของเขาคนหนึ่ง ชื่อ R.F.G. Tilleke ได้ทำงานเป็นบรรณาธิการของหนังสือพิมพ์ ''[[Bangkok Times]]''{{Citation needed|date=November 2018}}


== ยศและบรรดาศักดิ์ ==
== ยศและบรรดาศักดิ์ ==
บรรทัด 66: บรรทัด 66:


{{อายุขัย|2403|2460}}
{{อายุขัย|2403|2460}}
[[หมวดหมู่:บรรดาศักดิ์ชั้นพระยา|อรรถการประสิทธิ์ (วิลเลียม อัลเฟรด คุณะดิลก)]]
[[หมวดหมู่:บรรดาศักดิ์ชั้นพระยา|อรรถการประสิทธิ์ (วิลเลียม แอลเฟรด คุณะดิลก)]]
[[หมวดหมู่:ชาวสิงหล]]
[[หมวดหมู่:ชาวสิงหล]]
[[หมวดหมู่:ชาวศรีลังกา]]
[[หมวดหมู่:ชาวศรีลังกา]]
[[หมวดหมู่:องคมนตรีในรัชกาลที่ 6|อรรถการประสิทธิ์ (วิลเลียม อัลเฟรด คุณะดิลก)]]
[[หมวดหมู่:องคมนตรีในรัชกาลที่ 6|อรรถการประสิทธิ์ (วิลเลียม แอลเฟรด คุณะดิลก)]]
[[หมวดหมู่:สกุลคุณะดิลก]]
[[หมวดหมู่:สกุลคุณะดิลก]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:00, 9 สิงหาคม 2563

พระยาอรรถการประสิทธิ์
(วิลเลียม แอลเฟรด คุณะดิลก)
เกิด21 สิงหาคม พ.ศ. 2403
บ้านมหาพัวร์ กัณฏิ ซีลอน
เสียชีวิต7 มีนาคม พ.ศ. 2460 (56 ปี)
บ้านริมคลองเตย อำเภอบางรัก จังหวัดพระนคร สยาม
สัญชาติบริเตน/สยาม
ชื่ออื่นติเลกี, ติเลกกี, ติลกี
อาชีพอธิบดีกรมอัยการ
มีชื่อเสียงจากนักกฎหมาย, นักธุรกิจ
คู่สมรสคุณหญิงพัว อรรถการประสิทธิ์[1]
บุตรวิลเลี่ยม แดง คุณะดิลก
คุณหญิงเลขา อภัยวงศ์
บุพการี
  • โมเสส คูเน-ติเลกี (บิดา)

พระยาอรรถการประสิทธิ์ (วิลเลียม แอลเฟรด คุณะดิลก) (อังกฤษ: William Alfred Goone-Tilleke; 21 สิงหาคม 2403-7 มีนาคม 2460) เป็นขุนนาง นักกฎหมาย และนักธุรกิจชาวศรีลังกา สัญชาติไทย เขาเป็นผู้ก่อตั้งสำนักงานกฎหมายตีเลกี & กิบบินส์ ดำรงตำแหน่งสำคัญทางราชการสยามเป็นอธิบดีกรมอัยการคนที่สองของประเทศสยาม และเป็นองคมนตรีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว[2]

ภูมิหลัง

พระยาอรรถการประสิทธิ์ (วิลเลียม แอลเฟรด คุณะดิลก) ถือกำเนิดในครอบครัวของผู้ฐานะชาวสิงหล โดยเป็นบุตรชายของโมเสส คูเน-ติเลกี แห่งกัณฏิ หัวหน้ามุดาลิยาร์ (Chief Mudaliyar) และผู้พิพากษาสันติการจังหวัดกลางแห่งซีลอน[3] เขาได้เข้าศึกษาที่วิทยาลัยเซนต์โทมัส (St Thomas' College) และที่มหาวิทยาลัยกัลกัตตา เมื่อได้รับการรับรองฐานะเนติบัณฑิตในซีลอนแล้ว ท่านจึงเริ่มรับว่าความที่กัณฎิ และได้รับเลือกตั้งให้เป็นสมาชิกสภาเทศบาลเมืองกัณฏิในปี พ.ศ. 2428 หลังจากนั้นก็ได้ปฏิบัติงานในหน้าที่ตุลาการของเทศบาลเมือง

ชีวิตในสยาม

ในปี พ.ศ. 2433 วิลเลียม แอลเฟรด คูเน-ติเลกี (เรียกโดยย่อว่า ติเลกี) ได้เดินทางมายังประเทศสยาม รับว่าความคดีต่างๆ ในประเทศสยามจนถึงปี พ.ศ. 2437 ท่านจึงได้รับการยอมรับร่วมกับหลวงดำรงธรรมสาร (มี ธรรมาชีวะ) นักกฎหมายชาวสยาม จากความสำเร็จในการว่าความให้แก่พระยอดเมืองขวาง (ขำ ยอดเพชร) เจ้าเมืองคำม่วน ซึ่งตกเป็นจำเลยในคดีสังหารนายทหารชาวฝรั่งเศสระหว่างเกิดวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112[4]:60[5] ท่ามกลางการเผชิญแรงกดดันจากลัทธิล่าอาณานิคมฝรั่งเศสและก่อนที่ศาลฝ่ายฝรั่งเศสจะเข้ามาจัดการคดีดังกล่าวที่สยาม ติเลกีได้ว่าความปกป้องพระยอดเมืองขวางจนสามารถพิสูจน์ความบริสุทธิ์ได้ คณะผู้พิพากษาทั้ง 7 คนจึงมีคำพิพากษาว่าพระยอดเมืองขวางไม่มีความผิดในคดีนี้[5] ต่อมาในปี พ.ศ. 2440 ท่านจึงเข้ารับราชการในกรมอัยการของสยาม และในช่วงเวลาเดียวกันนั้น ติเลกีก็ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาสยามผ่านการลงทุนในบริษัทรถราง บริษัทยางพารา และบริษัทอุตสาหกรรม ท่านยังเป็นเจ้าของบริษัทยางชื่อ Bagan Rubber Company ดำเนินการอยู่ในรัฐกลันตัน[4]:60 ซึ่งเป็นหัวเมืองประเทศราชของสยามจนถึงปี พ.ศ. 2452

ในปี พ.ศ. 2445 ติเลกีได้ก่อตั้งสำนักงานกฎหมายตีเลกี & กิบบินส์ เป็นบริษัทกฎหมายแห่งแรกของสยามและประเทศไทย และยังคงดำเนินกิจการจนถึงทุกวันนี้ โดยเป็นหุ้นส่วนร่วมกับราล์ฟ กิบบินส์ นักกฎหมายชาวอังกฤษซึ่งรับราชการเป็นที่ปรึกษาทางกฎหมายของกระทรวงยุติธรรม (ภายหลังได้เป็นตุลาการศาลระหว่างประเทศในปี พ.ศ. 2459) เขายังได้ร่วมกับ จี.ดับเบิลยู. วอร์ด ก่อตั้งหนังสือพิมพ์ "สยามออบเซอร์เวอร์" หนังสือพิมพ์ภาษาอังกฤษฉบับแรกของประเทศสยาม นอกจากนี้ ติเลกียังได้รับความไว้วางพระทัยจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวให้เป็นที่ปรึกษาทางกฎหมายชาวต่างประเทศอีกด้วย[6] และยังได้มีส่วนร่วมในการร่างกฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 ซึ่งเป็นประมวลกฎหมายอาญาฉบับแรกของประเทศสยาม[7]

ติเลกีได้สละสัญชาติบริเตนเพื่อถือสัญชาติสยามเมื่อ พ.ศ. 2453 เขาจึงเป็นพลเมืองสยามอย่างเต็มตัวมานับตั้งแต่นั้น[4]:60 หลังจากรับราชการในฐานะว่าที่เจ้ากรมอัยการมานาน เขาจึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นอธิบดีกรมอัยการของสยามเมื่อปี พ.ศ. 2455 และรับราชการจนกระทั่งถึงแก่อนิจกรรมในตำแหน่งดังกล่าวด้วยโรคอัมพาตเมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2460 รวมอายุได้ 57 ปี[8] โดยได้รับพระราชทานยศและบรรดาศักดิ์ชั้นสุดท้ายในฐานะข้าราชการไทยเป็นที่มหาอำมาตย์โท พระยาอรรถการประสิทธิ์[9]

ครอบครัว

พระยาอรรถการประสิทธิ์สมรสกับคุณหญิงพัว อรรถการประสิทธิ์ มีบุตร-ธิดา รวม 2 คน ได้แก่

  1. นายวิลเลี่ยม แดง คุณะดิลก สมาชิกขบวนการเสรีไทยในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2[10]
  2. คุณหญิงเลขา อภัยวงศ์ มีชื่อเดิมว่า "เจน เล็ก คุณะดิลก" สมรสกับพันตรีควง อภัยวงศ์ อดีตนายกรัฐมนตรีไทย และอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์[11]

พระยาอรรถการประสิทธิ์ได้รับพระราชทานนามสกุลจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า "คุณะดิลก" (อักษรโรมันใช้ "Guna Tilaka") เมื่อ พ.ศ. 2456 โดยแปลงนามสกุลจากภาษาสิงหลให้อยู่ในรูปอักษรไทย ทั้งนี้ มีหมายเหตุกำกับไว้ในทะเบียนนามสกุลพระราชทานว่า "เขาชื่อเช่นนี้มาแต่เดิมแล้วแต่ต้องการได้รับอนุมัติ จึ่งตกลงให้เขียนว่า"คุณะดิลก" เช่นนี้ เพื่อให้เป็นไทย เดิมเขียนว่า "คุณะติละกะ" (ตัวโรมัน "Guna Tilleke")"[12] ทายาทของพระยาอรรถการประสิทธิ์และเครือญาติสกุลคูเน-ติเลกี ที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานในประเทศไทย จึงได้ใช้นามสกุล "คุณะดิลก" สืบมาจนถึงปัจจุบัน

อนึ่ง เครือญาติของพระยาอรรถการประสิทธิ์ได้เข้ามารับราชการและทำงานในประเทศสยามหลายคน น้องชายของเขาที่ได้รับราชการในสยามได้แก่ พระยาสิงหฬสาคร (อาเธอร์ แฟรนซิส คุณะดิลก) รับราชการเป็นผู้ช่วยอธิบดีกรมเจ้าท่าของสยาม และนายแพทย์ พระยาวิรัชเวชกิจ (โรเบิร์ต เอ็ดวิน คุณะดิลก) รับราชการเป็นศัลยแพทย์ประจำพระองค์และนายแพทย์ใหญ่วชิรพยาบาล ทั้งสองคนนี้ได้แปลงสัญชาติมาเป็นสัญชาติสยามเช่นเดียวกับพระยาอรรถการประสิทธิ์ หลานของเขาคนหนึ่ง ชื่อ R.F.G. Tilleke ได้ทำงานเป็นบรรณาธิการของหนังสือพิมพ์ Bangkok Times[ต้องการอ้างอิง]

ยศและบรรดาศักดิ์

  • 2 มกราคม พ.ศ. 2453 พระอรรถการประสิทธิ์ ถือศักดินา ๘๐๐[13]
  • 7 สิงหาคม พ.ศ. 2454 อำมาตย์เอก[14]
  • 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2454 มหาอำมาตย์ตรี[15]
  • 1 เมษายน พ.ศ. 2455 พระยาอรรถการประสิทธิ์ ถือศักดินา ๑๐๐๐[16]
  • พ.ศ. 2460 มหาอำมาตย์โท

ตำแหน่ง

  • พ.ศ. 2439 พนักงานว่าความกรมอัยการในศาลกงสุลต่างชาติ
  • 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2440 รักษาราชการแทนเจ้ากรมอัยการ[17]
  • 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2445 ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์[18]
  • พ.ศ. 2445 ว่าที่เจ้ากรมอัยการ
  • 26 ตุลาคม พ.ศ. 2455 อธิบดีกรมอัยการ[19]
  • 4 เมษายน พ.ศ. 2458 องคมนตรี[20]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (หน้า ๑๘๙๘)
  2. "Unknown". The Straits Times. 16 January 1932. p. 12. สืบค้นเมื่อ 24 August 2016.
  3. Arnold Wright, บ.ก. (1907). Twentieth Century Impressions of Ceylon: Its History, People, Commerce, Industries and Resources. Lloyd's Greater Britain Publishing Co. p. 566.
  4. 4.0 4.1 4.2 Loos, Tamara (2006). Subject Siam: Family, Law, and Colonial Modernity in Thailand. Cornell University Press.
  5. 5.0 5.1 Henry Norman (1895). The Peoples and Politics of the Far East. Charles Scribners Sons. p. 481.
  6. Zhulin, Denis Larionov & Alexander. "Read the eBook Twentieth century impressions of Siam: its history, people, commerce, industries, and resources, with which is incorporated an abridged edition of Twentieth century impressions of British Malaya by Arnold Wright online for free (page 18 of 107)". สืบค้นเมื่อ 24 August 2016.
  7. บทบาทของนักกฎหมายชาวต่างประเทศในยุคปฏิรูปกฎหมายและการศาลไทย [The role of foreign lawyers in Thai legal and judiciary reforms], Court Museum of Thailand, retrieved 2 November 2018.
  8. ข่าวตาย
  9. THAILAND LAW DIGEST REVISER
  10. E. Bruce Reynolds (2004). Thailand's Secret War: OSS, SOE and the Free Thai Underground during World War II. Cambridge University Press. p. 123.
  11. Songsri Foran (1981). Thai-British-American relations during World War II and the immediate postwar period, 1940–1946. Thai Khadi Research Institute, Thammasat University. p. 83.
  12. นามสกุลพระราชทาน อักษร ค - พระราชวังพญาไท
  13. พระราชทานสัญญาบัตรขุนนาง (หน้า ๒๓๙๒)
  14. ประกาศพระบรมราชโองการ ประกาศพระราชทานยศ แก่ข้าราชการกระทรวงยุติธรรม (หน้า ๙๒๐)
  15. พระราชทานยศ
  16. พระราชทานสัญญาบัตรบรรดาศักดิ์
  17. แจ้งความกระทรวงยุติธรรม
  18. แจ้งความกระทรวงยุติธรรม
  19. แจ้งความกระทรวงยุติธรรม เรื่อง ให้พระยาอรรถการประสิทธิ์เป็นอธิบดีกรมอัยการ
  20. รายพระนามและนามผู้ซึ่งได้รับพระราชทานตราตั้งเป็นองคมนตรี (หน้า ๑๑๗)
  21. พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (หน้า ๑๘๓๑)
  22. พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์
  23. พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์

แหล่งข้อมูลอื่น